ค่าเป้าหมาย : 0
ผลงานที่ทำได้ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
ได้จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานกำกับดูแลข้อมูลระดับหน่วยงานของสำนักงานเลขานุการปลัดกรุงเทพมหานคร และมอบหมายให้ส่วนบริหารกลางจัดทำแผนพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน
การจัดเก็บฐานข้อมูล ตัวชี้วัด 4.1 ของปีงบประมาณ 2563 ได้ดำเนินการจัดทำข้อมูลคะแนนการตรวจศูนย์ข้อมูลข่าวสารอิเล็กทรอนิกส์ ประจำเดือนมกราคม 2564 เพื่อนำเข้าระบบบันทึกฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัด 5.2 ของปีงบประมาณ 2564 แล้ว การจัดเก็บฐานข้อมูล องค์ประกอบ 5.2 ปีงบประมาณ 2564 ได้จัดทำบัญชีรายการข้อมูล การจัดทำคำอธิบายชุดดิจิทัล และจัดทำพจนานุกรมข้อมูลซึ่งคณะทำงานกำกับดูแลข้อมูลระดับหน่วยงานของ สลป. ได้ให้ความเห็นชอบเรียบร้อยแล้ว
การจัดเก็บฐานข้อมูลองค์ประกอบ 5.2 ของปีงบประมาณ 2564 อยู่ระหว่างดำเนินการ ดังนี้ 1. ดำเนินการรักษาสถานภาพฐานข้อมูลของหน่วยงานที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2563 เดือนละ 1 ครั้งตามหลักเกณฑ์ 2. ดำเนินการพัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ เดือนละ 1 ครั้งตามหลักเกณฑ์ 3. การนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงาน โดยมีหลักฐานเป็นที่ประจักษ์และสามารถตรวจสอบได้อย่างเป็นรูปธรรมอยู่ระหว่างดำเนินการ ดังนี้ 3.1 ระบบการจัดเก็บคำสั่งได้นำเข้าข้อมูลประเภทคำสั่งกรุงเทพมหานคร และคำสั่งสำนักปลัดกรุงเทพมหานครในระบบงาน กรณีมีผู้รับบริการขอข้อมูลข่าวสารประเภทคำสั่งดังกล่าว สามารถค้นหาในระบบฯ แก่ผู้รับบริการได้อย่างรวดเร็ว 3.2 ระบบหนังสือเวียน ได้ทดลองนำเข้าหนังสือเวียนที่หน่วยงานและ/หรือส่วนราชการส่งมาเวียนในระบบหนังสือเวียนของกรุงเทพมหานคร (ระบบที่ สยป. พัฒนาขึ้นมาทดแทนระบบเดิมชั่วคราว) โดยนำเข้าหนังสือเวียนบางส่วนในระบบหนังสือเวียนที่ได้พัฒนาขึ้นมาใหม่ ก่อนเวียนการนำระบบฯ ขึ้นใช้จริง ภายในเดือนมิถุนายน 2564 ทั้งนี้ จะแจ้งให้ ทุกหน่วยงาน/ส่วนราชการทราบต่อไป 3.3 ระบบงานเรื่องราวร้องทุกข์ ได้นำข้อมูลในระบบฯ สรุปนำเรียนผู้บริหารกรุงเทพมหานครทุกเดือน
การจัดเก็บฐานข้อมูลตัวชี้วัด 4.1 ของปีงบประมาณ 2563 ได้ดำเนินการนำข้อมูลการตรวจศูนย์ข้อมูลข่าวสารอิเล็กทรอนิกส์ของหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหาคร จำนวน 72 ศูนย์ เข้าระบบบันทึกฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัด 5.2 การจัดเก็บฐานข้อมูลองค์ประกอบตัวชี้วัด 5.2 ของปีงบประมาณ 2564 ได้ดำเนินการ ดังนี้ 1. ได้ดำเนินการรักษาสภาพข้อมูลของหน่วยงานที่ดำเนินการปีงบประมาณ 2563 เดือนละ 1 ครั้ง ตามหลักเกณฑ์เรียบร้อยแล้ว 2. ได้ดำเนินการพัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ เดือนละ 1 ครั้ง ตามหลักเกณฑ์เรียบร้อยแล้ว
ข้อมูล หมายความว่า สิ่งที่สื่อความหมายให้รู้เรื่องราวข้อเท็จจริงหรือเรื่องอื่นใด ไม่ว่าการ สื่อความหมายนั้นจะทาได้โดยสภาพของสิ่งนั้นเองหรือโดยผ่านวิธีการใดๆ และไม่ว่าจะได้จัดทาไว้ในรูปของ เอกสาร แฟ้ม รายงาน หนังสือ แผนผัง แผนที่ ภาพวาด ภาพถ่าย ภาพถ่ายดาวเทียมฟิล์ม การบันทึกภาพ หรือเสียง การบันทึกโดยเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องมือตรวจวัด การสารวจระยะไกล หรือวิธีอื่นใดที่ทาให้สิ่งที่ บันทึกไว้ปรากฏได้ ชุดข้อมูล หมายความว่า การนาข้อมูลจากหลายแหล่งมารวบรวม เพื่อจัดเป็นชุดให้ตรง ตามลักษณะโครงสร้างของข้อมูล บัญชีรายการข้อมูล หมายความว่า เอกสารแสดงบรรดารายการของชุดข้อมูล ที่จาแนก แยกแยะโดยการจัดกลุ่มหรือจัดประเภทข้อมูลที่อยู่ในความครอบครองหรือควบคุมของหน่วยงาน ฐานข้อมูล (Database) หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่ถูกเก็บรวบรวมไว้ โดยมีความสัมพันธ์ ซึ่งกันและกัน โดยไม่ได้บังคับว่าข้อมูลทั้งหมดนี้จะต้องเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูล (Data file) เดียวกันหรือแยกเก็บ หลายๆ แฟ้มข้อมูล (Data file) ค้าอธิบายข้อมูลหรือเมทาดาตา (Metadata) หมายถึง ข้อมูลที่ใช้อธิบายข้อมูล โดยระบุ รายละเอียดแหล่งข้อมูล หรือคาอธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ซึ่งจัดทาให้ผู้ใช้ข้อมูลทราบว่าข้อมูลมาจาก แหล่งใด มีรูปแบบอย่างไร เพื่อช่วยอานวยความสะดวกในการสืบค้นข้อมูล และใช้ประโยชน์ในการจัดทาบัญชี รายการข้อมูล (Data Catalog)
1. เกณฑ์การให้คะแนน แนวทางการประเมินผลพิจารณาการดาเนินงานของหน่วยงาน แบ่งเป็น 2 ส่วนประกอบด้วย ส่วนที่ 1 การรักษาสถานภาพฐานข้อมูลของหน่วยงานปี พ.ศ. 2563 คือ ความสมบูรณ์ของ การนาเข้าข้อมูล และเชื่อมโยงระบบย่อยของหน่วยงาน 1.1 ความครบถ้วนและความถูกต้องในการนาเข้าข้อมูล 1.2 การนาเข้าข้อมูลในระบบภายในกาหนด ส่วนที่ 2 พัฒนาและจัดเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลที่มีความสาคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ การพิจารณาให้คะแนนจะพิจารณาจากผลการดาเนินงานทั้งส่วนที่ 1 และส่วนที่ 2 รวมกัน โดยมีเกณฑ์ในการพิจารณาและให้คะแนน ดังนี้ ร้อยละ 20 เมื่อดาเนินการตามกรอบธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ (Data Governance Framework) แล้ว ดังนี้ 1. แต่งตั้งคณะทางานกากับดูแลข้อมูลระดับหน่วยงาน และ จัดทาแผนพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน 2. จัดทาบัญชีรายการข้อมูล (data catalog) 3. กาหนดผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและผู้เกี่ยวข้องกับข้อมูลของหน่วยงาน 4. พัฒนาฐานข้อมูลใหม่ หรือ ปรับปรุงฐานข้อมูลที่มีอยู่เดิมให้มี ขอบเขตการใช้ประโยชน์ได้กว้างขวางขึ้นจานวน 1 เรื่องมาพัฒนาเป็น ฐานข้อมูลของหน่วยงาน ร้อยละ 40 เมื่อดาเนินการตามกรอบธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐเรียบร้อยแล้ว ดังนี้ 1. จัดทาพจนานุกรมข้อมูล (data dictionary) 2. จัดทาคาอธิบายข้อมูล (metadata) โดยจัดทาตาม แบบฟอร์มที่กาหนด ร้อยละ 60 เมื่อมีการนาเข้าข้อมูลและปรับปรุงข้อมูลให้มีคุณภาพเป็นปัจจุบัน อย่างสม่าเสมอ ตามกรอบธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ(การประเมินผล คุณภาพข้อมูล) เรียบร้อยแล้ว ร้อยละ 80 เมื่อมีการนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงานโดยมีหลักฐานเป็น ที่ประจักษ์และสามารถตรวจสอบได้อย่างเป็นรูปธรรม ร้อยละ 100 เมื่อมีการให้บริการหรือเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงาน ของกรุงเทพมหานครและ/หรือหน่วยงานภายนอกด้วยระบบออนไลน์ และ/หรือมีการเผยแพร่ต่อสาธารณะ 2. การค้านวณคะแนนตามกรอบการประเมิน คะแนนที่จะได้รับ = น้าหนักคะแนน X ร้อยละของคะแนนที่ได้รับ 100
1. รักษาสถานะภาพฐานข้อมูลของหน่วยงานที่ดาเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ตรวจสอบ การนาเข้าข้อมูล ที่ถูกต้อง ครบถ้วน ข้อมูลเป็นปัจจุบันในระบบเดิมที่ดาเนินการในปีที่ผ่านมา ตามที่กาหนดในแผนพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานตามที่ได้ตกลงกับคณะกรรมการกากับฐานข้อมูล ที่สานักยุทธศาสตร์และประเมินผลกาหนด 2. การพัฒนาและจัดเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลที่มีความสาคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ ตรวจสอบจากแบบรายงานที่กาหนด และฐานข้อมูลที่หน่วยงานพัฒนาขึ้น 3. รายงานผลการดาเนินการตามตัวชี้วัดที่ 5.2 ซึ่งหน่วยงานรายงานความก้าวหน้าของตัวชี้วัด โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนดาเนินการตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติราชการประจาปีระบบ การบริหารจัดการแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร (BMA Digital Plans) และ BMA Monitor Application ต้องรายงานข้อมูลผลการดาเนินงานผ่านระบบการบริหารจัดการแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร (BMA Digital Plans) ให้ถูกต้อง สมบูรณ์ และเป็นปัจจุบัน อย่างสม่าเสมอตามรอบระยะเวลาที่สานักยุทธศาสตร์ และประเมินผลกาหนด
:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
:๗.๕ - เทคโนโลยีสารสนเทศ |
:๗.๕.๑ กรุงเทพมหานครให้บริการประชาชนด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องและโปร่งใส โดยประยุกต์% |
:๗.๕.๑.๒ มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน |