ค่าเป้าหมาย : 0
ผลงานที่ทำได้ : 97.48
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
ระยะเวลาดำเนินการระหว่างวันที่ 1 ต.ค. - 28 ธ.ค. 2563 หมวด 01 งบประมาณหลังปรับโอน 77,585,200.-บาท เบิกจ่าย 17,766,558.48 บาท คิดเป็นร้อยละ 22.90 หมวด 02 งปม.หลังปรับโอน 3,528,000.-บาท เบิกจ่าย 898,449.90 บาท คิดเป็นร้อยละ 25.47 หมวด 03 งปม.หลังปรับโอน 85,758,100.-บาท เบิกจ่าย 3,961,446 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.62 หมวด 04 งปม.หลังปรับโอน 30,260,200.-บาท เบิกจ่าย 5,647,616.28 บาท คิดเป็นร้อยละ 18.66 หมวด 05 งปม.หลังปรับโอน 22,462,800.-บาท เบิกจ่าย 349,500 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.56 งบประมาณหลังปรับโอน 219,594,300.-บาท เบิกจ่ายภาพรวม เป็นเงิน 28,623,570.66 บาท คิดเป็นร้อยละ13.03
ข้อมูลการเบิกจ่าย ณ วันที่ 31 มีนาคม 2564 หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ งบประมาณหลังปรับโอน 85,758,100 บาท เบิกจ่ายได้ 27,104,686.90 บาท คิดเป็นร้อยละการเบิกจ่าย 31.61 หมวดค่าสาธารณูปโภค งบประมาณหลังปรับโอน 30,260,200 บาท เบิกจ่ายได้ 10,852,186.59 บาท คิดเป็นร้อยละการเบิกจ่าย 35.86 หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง งบประมาณหลังปรับโอน 22,462,800 บาท เบิกจ่ายได้ 666,600 บาท คิดเป็นร้อยละการเบิกจ่าย 2.97 งบประมาณหลังปรับโอน รวมทั้งสิ้น 138,481,100 บาท เบิกจ่าย 38.623,473.49 บาท คิดเป็นร้อยละการเบิกจ่าย 27.89
ข้อมูล ณ วันที่ 24 มิถุนายน 2564 : การเบิกจ่าย 5 หมวดรายจ่าย (ไม่รวมหมวด 01, 02) งบประมาณรายจ่ายประจำปีที่เบิกจ่ายสะสม ณ วันที่ 24 มิถุนายน 2564 เป็นเงิน 71,276,408.11 บาท งบประมาณรายจ่ายประจำปีหลังปรับโอน เป็นเงิน 138,481,100.-บาท คิดเป็นร้อยละความสำเร็จตามตัวชี้วัด : ร้อยละ 51.47
ผลการดำเนินงานสิ้นสุด ณ วันที่ 30 กันยายน 2564 - งบประจำปีหลังปรับโอน (ไม่รวมงบกลาง ที่ดำเนินการขออุทธรณ์ จำนวน 2 รายการ เป็นเงิน 18,815,000.-บาท) เป็นเงิน 129,796,906 บาท - งบประจำปีที่เบิกจ่ายจริงสะสม ณ วันที่ 30 กันยายน 2564 เป็นเงิน 126,525,794 บาท คิดเป็นร้อยละความสำเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวม 97.48
1. ความส้าเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวม หมายถึง หน่วยงานสามารถดาเนินการ เบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 รวม 5 หมวดรายจ่าย ได้แก่ หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ หมวดค่าสาธารณูปโภค หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมวดเงินอุดหนุน และ หมวดรายจ่ายอื่น รวมทั้งงบกลางทุกประเภทที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 (ไม่รวมงบประมาณรายจ่ายประจาปี หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจา หมวดค่าจ้างชั่วคราว งบกลาง รายการเงิน ช่วยเหลือข้าราชการและลูกจ้าง งบกลาง รายการเงินบาเหน็จลูกจ้าง งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม งบเงินอุดหนุน จากรัฐบาล และงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กันไว้เบิกเหลื่อมปีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564) 2. จ้านวนเงินงบประจ้าปีที่เบิกจ่ายจริงสะสม ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 หมายถึง ผลรวม ของการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 รวม 5 หมวดรายจ่าย ได้แก่ หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ หมวดค่าสาธารณูปโภค หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมวดเงินอุดหนุน และหมวดรายจ่ายอื่น รวมทั้งงบกลางทุกประเภทที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 (ไม่รวมงบประมาณรายจ่ายประจาปี หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจา หมวดค่าจ้างชั่วคราว งบกลาง รายการเงินช่วยเหลือข้าราชการและลูกจ้าง งบกลาง รายการเงินบาเหน็จลูกจ้าง งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม งบเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กันไว้เบิกเหลื่อมปีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564) 3. งบประจ้าปีหลังปรับโอน ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 หมายถึง งบประมาณรายจ่ายประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 รวม 5 หมวดรายจ่าย ได้แก่ หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ หมวดค่าสาธารณูปโภค หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมวดเงินอุดหนุน และหมวดรายจ่ายอื่น รวมทั้งงบกลางทุกประเภท ที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 (ไม่รวมงบประมาณรายจ่ายประจาปี หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจา หมวดค่าจ้างชั่วคราว งบกลาง รายการเงินช่วยเหลือข้าราชการและลูกจ้าง งบกลาง รายการเงินบาเหน็จลูกจ้าง งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม งบเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และงบประมาณ รายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กันไว้เบิกเหลื่อมปีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564) 4. โครงการขนาดใหญ่ หมายถึง โครงการที่มีระยะเวลาดาเนินการมากกว่า 1 ปี และมีวงเงิน โครงการ 200 ล้านบาทขึ้นไป
วิธีการค้านวณ : ร้อยละความส้าเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวม (จำนวนเงินงบประจำปีที่เบิกจ่ายจริงสะสม ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564)/(งบประจำปีหลังปรับโอน ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 x 100 = ก% นำร้อยละความสาเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวมที่ได้ (ก%) มาเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- ร้อยละ 5 ต่อ 1 ระดับคะแนน ระดับคะแนน ระดับ 1 (60 คะแนน) ระดับ 2 (70 คะแนน) ระดับ 3 (80 คะแนน) ระดับ 4 (90 คะแนน) ระดับ 5 (100 คะแนน) ความส้าเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวม กลุ่มหน่วยงาน A ระดับ 1 80 ระดับ 2 85 ระดับ 3 90 ระดับ 4 95 ระดับ 5 100
1. ข้อมูลจากตัวชี้วัดความสาเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวม ในกรอบการประเมินผล การปฏิบัติราชการของหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานคร มิติที่ 2 ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 2. จาแนกกลุ่มข้อมูลของหน่วยงานผู้รับการประเมินและกาหนดค่าเป้าหมายของแต่ละกลุ่ม โดยพิจารณาจากภารกิจของหน่วยงาน และผลการดาเนินงานของตัวชี้วัดความสาเร็จของการเบิกจ่าย งบประมาณในภาพรวมของแต่ละกลุ่มหน่วยงาน 2.1 กลุ่มหน่วยงาน A สานักที่มีภารกิจงานอานวยการ มีค่าเฉลี่ยผลการดาเนินงานของตัวชี้วัด ความสาเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวมของหน่วยงานในกลุ่ม 3 ปีงบประมาณย้อนหลัง เท่ากับ ร้อยละ 94.85 ดังนั้น ค่าเป้าหมายกลาง (ระดับ 3) จะเท่ากับ ร้อยละ 9
:**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****% |
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |