ค่าเป้าหมาย : 100
ผลงานที่ทำได้ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
ได้ดำเนินการจัดทำแบบฟอร์มที่ 2 แบบสรุปผลการคัดเลือกความคิดเห็นในการเสนอนวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน โดยคัดเลือกหัวข้อ การจัดทำไลน์ (Application Line) สำหรับการติดต่อสื่อสารระหว่างศุนย์เรื่องราวร้องทุกข์ (ส่วนกลาง) กับหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ให้ได้รับข้อมูลที่ถูกต้องและรวดเร็ว และแต่งตั้งคณะกรรมการนวัตกรรมของสำนักงานเลขานุการปลัดกรุงเทพมหานคร
อยู่ระหว่างการประสานงานหน่วยงานและส่วนราชการมอบหมายผู้ประสานงาน Line Official Account
อยู่ระหว่างการนำนวัตกรรมไปใช้ในการปฏิบัติงาน (ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน - 30 มิถุนายน 2564)
ดำเนินการเรียบร้อยเป็นไปตามตัวชี้วัด และตามระยะเวลาที่กำหนดในโครงการฯ ดังนี้ - สร้างนวัตกรรม คือ สร้าง Line official account @ร้องทุกข์ 1555 - นำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ โดยใช้ Line official account @ร้องทุกข์ 1555 เป็นช่องทางในการติดต่อประสานงานระหว่างศูนย์เรื่องราวร้องทุกข์กับหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครอีกช่องทางหนึ่ง ระยะเวลาการนำไปใช้ตามโครงการฯ ตั้งแต่เดือนเมษายน - มิถุนายน 2564
นวัตกรรม หมายถึง แนวคิด วิธี และรูปแบบใหม่ๆ ในการจัดการองค์กร การดาเนินงาน และ การให้บริการ อันเป็นผลมาจากการสร้าง พัฒนา เพิ่มพูน ต่อยอด หรือประยุกต์ใช้องค์ความรู้ และแนวปฏิบัติต่างๆ ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการพัฒนาประสิทธิภาพประสิทธิผล หรือคุณภาพของการปฏิบัติงานของหน่วยงาน (ที่มา:ศูนย์นวัตกรรมเพื่อการพัฒนาระบบราชการไทย สานักงาน ก.พ.ร.) หน่วยงานนาเสนอนวัตกรรมรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง ดังนี้ นวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เป็นการคิดริเริ่มนโยบาย กฎหมายและกฎใหม่ๆ ให้ทันสมัย เหมาะสมและทันต่อสถานการณ์ รวมทั้งมีความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ของกรุงเทพมหานคร นวัตกรรมการบริการ (Service Innovation) การพัฒนาหรือปรับปรุงรูปแบบการให้บริการด้วย การนาแนวคิด องค์ความรู้ ประสบการณ์ หรือเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ เพื่อพัฒนาหรือปรับปรุงรูปแบบ การให้บริการใหม่ๆ ที่สอดคล้อง และทันต่อความต้องการของประชาชน/ผู้รับบริการ นวัตกรรมการบริหาร/องค์กร (Administrative or Organizational Innovation) การพัฒนาหรือปรับปรุงกระบวนงานใหม่ (New Process) รวมทั้งการพัฒนาคุณภาพการบริหารงาน เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการดาเนินงานของหน่วยงาน หรือกระบวนการจัดโครงสร้างหน่วยงานรูปแบบใหม่ ที่ส่งผลต่อ ระบบการทางานขององค์กร การเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของหน่วยงาน หมายถึง การปรับปรุง แก้ไข และหรือ เพิ่มความสามารถ หรือทักษะในการปฏิบัติงานของหน่วยงานให้ดียิ่งขึ้น เพื่อให้ผลการปฏิบัติงาน บรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคุณภาพ เพื่อให้เกิดความพึงพอใจแก่ผู้ปฏิบัติงานและ ผู้รับบริการ
การประเมินการเสนอนวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน พิจารณาจาก ระดับความสาเร็จในการดาเนินกิจกรรมของแต่ละหน่วยงาน ตามขั้นตอนต่างๆ ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 เป็นขั้นตอนการค้นหา และรวบรวมความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัญหา หรือ ความต้องการที่จะพัฒนางาน โดยเสนอแนวคิดภายใต้รูปแบบที่กาหนดตามแบบฟอร์มการมีส่วนร่วมแสดง ความคิดเห็นในการพัฒนา/ปรับปรุงการปฏิบัติงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน (แบบฟอร์ม 1) โดยกาหนดจานวนแบบฟอร์มที่หน่วยงานที่รับการประเมินต้องส่งให้สานักงาน ก.ก. ดังนี้ 1. หน่วยงานระดับสานัก จานวนไม่น้อยกว่า 20 ชุด 2. สานักงานเขต จานวนไม่น้อยกว่า 15 ชุด 3. ส่วนราชการในสังกัดสานักปลัดกรุงเทพมหานคร สานักงานเลขานุการ สภากรุงเทพมหานคร และสานักงานเลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร จานวนไม่น้อยกว่า 10 ชุด ขั้นตอนที่ 2 เป็นขั้นตอนการคัดเลือกความคิดเห็นจากขั้นตอนที่ 1 โดยคณะผู้บริหาร/คณะทางาน ของแต่ละหน่วยงาน กาหนดให้แต่ละหน่วยงานพิจารณาเลือกเพียง 1 ความคิดเห็น เพื่อนามาพัฒนา หรือ ปรับปรุงการทางานของหน่วยงานให้มีประสิทธิภาพ โดยให้ระบุรายละเอียดของแนวคิดที่ได้รับการคัดเลือก ในแบบสรุปผลการคัดเลือกความคิดเห็นในการเสนอนวัตกรรมฯ (แบบฟอร์ม 2) ขั้นตอนที่ 3 เป็นขั้นตอนการนาเสนอโครงการ โดยหน่วยงานนาแนวคิดที่ได้รับการคัดเลือกตาม ขั้นตอนที่ 2 มาจัดทาโครงการนวัตกรรมฯ 1 โครงการ (แบบฟอร์ม 3) พร้อมจัดทาแบบฟอร์มนาเสนอโครงการ พัฒนานวัตกรรมฯ (แบบฟอร์ม 4) เพื่อเสนอคณะกรรมการนวัตกรรมกรุงเทพมหานครพิจารณาต่อไป ทั้งนี้โครงการพัฒนานวัตกรรมฯ ที่นาเสนอไม่จาเป็นต้องดาเนินการแล้วเสร็จภายในปีงบประมาณ เดียว สามารถนาเสนอโครงการฯ ระยะยาวที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่องได้ โดยกาหนดเป้าหมายโครงการ แต่ละปีงบประมาณให้ชัดเจน ขั้นตอนที่ 4 เป็นขั้นตอนการพัฒนานวัตกรรมฯ ที่ผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการฯ โดยหน่วยงานดาเนินโครงการพัฒนานวัตกรรมฯ ตามแนวทาง/กิจกรรมที่กาหนดไว้ในโครงการ เพื่อให้บรรลุ เป้าหมาย ตามตัวชี้วัดที่กาหนด และส่งเอกสาร หลักฐานให้สานักงาน ก.ก. พิจารณาภายในระยะเวลาที่กาหนด ขั้นตอนที่ 5 เป็นขั้นตอนการจัดทาแบบสารวจผลการนานวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ โดยให้ หน่วยงานจัดทาตาม (แบบฟอร์ม 5) และนาเสนอต่อผู้บริหารหน่วยงาน/ส่วนราชการฯ เพื่อพิจารณาให้ความ เห็นชอบ คะแนนรวม = ส่วนที่ 1 + ส่วนที่ 2 + ส่วนที่ 3 เมื่อได้คะแนนรวมแล้ว จึงนาผลที่ได้มาเทียบหาระดับคะแนนที่ได้รับของตัวชี้วัดการเสนอ นวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน เทียบระดับคะแนนที่จะได้รับตามช่วงการปรับ เกณฑ์การให้คะแนน ความสาเร็จในการเสนอนวัตกรรมเพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของ หน่วยงาน ระดับ 1 ≤ 60 ระดับ 2 70 ระดับ 3 80 ระดับ 4 90 ระดับ 5 100
1. หน่วยงานที่รับการประเมิน ดาเนินการตามขั้นตอนต่อไปนี้ 1.1 เวียนแจ้ง/ประชาสัมพันธ์ให้ข้าราชการในหน่วยงานร่วมเสนอความคิดเห็นเพื่อการพัฒนา/ ปรับปรุงการปฏิบัติงานของหน่วยงานตามแบบฟอร์มการมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นในการพัฒนา/ปรับปรุง การปฏิบัติงานฯ (แบบฟอร์มที่ 1) 1.2 รวบรวมความคิดเห็นฯ จากข้อ 1.1 เสนอคณะผู้บริหาร/คณะทางานที่หน่วยงานตั้งขึ้น เพื่อพิจารณา/คัดเลือกแนวคิด โดยกาหนดให้เลือกเพียง 1 แนวคิดที่เห็นว่าสามารถนามาพัฒนา เพื่อจัดทาโครงการนวัตกรรมฯ ซึ่งหน่วยงานอาจดาเนินการในรูปแบบการจัดประกวดแนวคิดภายในหน่วยงาน หรือจัดพื้นที่เพื่อการนาเสนอแนวคิด หรือการจัดประชุม ฯลฯ โดยให้ระบุรายละเอียดของแนวคิด ที่ได้รับ การคัดเลือกในแบบสรุปผลการคัดเลือกแนวคิดฯ (แบบฟอร์ม 2) 1.3 จัดทาโครงการพัฒนานวัตกรรมฯ จานวน 1 โครงการเพื่อนาเสนอคณะกรรมการนวัตกรรม ของกรุงเทพมหานคร ตามแบบฟอร์มโครงการในการพัฒนานวัตกรรมฯ (แบบฟอร์ม 3) และแบบฟอร์ม นาเสนอโครงการพัฒนานวัตกรรมฯ (แบบฟอร์ม 4) โดยนาแนวคิดที่ได้รับการคัดเลือกมาปรับให้เข้ากับ รูปแบบของนวัตกรรมที่กาหนด และส่งให้สานักงาน ก.ก. ตามระยะเวลาที่กาหนด 1.4 หัวหน้าหน่วยงานนาเสนอโครงการต่อคณะกรรมการนวัตกรรมกรุงเทพมหา นคร เพื่อพิจารณาความเหมาะสมของโครงการตามระยะเวลาที่กาหนด และหากคณะกรรมการฯ มีมติให้ปรับแก้ โครงการ หน่วยงานต้องดาเนินการตามมติคณะกรรมการฯ 1.5 เสนอผู้มีอานาจเพื่อขออนุมัติโครงการพัฒนานวัตกรรมฯ หลังจากโครงการผ่านการ พิจารณาจากคณะกรรมการฯ แล้ว 2. หน่วยงานที่รับการประเมินดาเนินโครงการพัฒนานวัตกรรมฯ ตามแนวทาง/กิจกรรมที่กาหนด ไว้ในโครงการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามตัวชี้วัดที่กาหนด และจัดทาแบบสารวจผลการนานวัตกรรมไปใช้ ประโยชน์ตามหัวข้อที่กาหนด (แบบฟอร์ม 5) เสนอต่อผู้บริหารหน่วยงาน/ส่วนราชการฯ เพื่อพิจารณาให้ ความเห็นชอบ 3. สานักงาน ก.ก. จะพิจารณาจากผลสาเร็จในการดาเนินงานในแต่ละขั้นตอน ตามเกณฑ์ การให้คะแนนที่กาหนดไว้
:**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****% |
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |