ค่าเป้าหมาย ระดับ : 5
ผลงานที่ทำได้ ระดับ : 0
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 2:
อยู่ระหว่างดำเนินการ โดยได้ดำเนินงานดังต่อไปนี้ 1. แต่งตั้งคณะทำงานศึกษาแนวทางการจัดทำแผนฯ 2. ประชุมคณะทำงานเพื่อจัดทำ ปรับ/ร่างแผนฯ และร่วมกันแสดงความคิดเห็น 3. ดำเนินการสำรวจข้อมูลทักษะดิจิทัลของข้าราชการและบุคลากรกรุงเทพมหานครด้วยตนเอง (Digital Government Skill Set Self-Assessment) ผ่านระบบออนไลน์ 4. นำร่างแผนฯ เข้าสู่กระบวนการแสดงความคิดเห็น ร่วมกับ ส.กก. และสยป.
นิยาม ความสำเร็จของการจัดทำแผนพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลของข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานครเพื่อการปรับเปลี่ยนเป็นรัฐบาลดิจิทัล ระยะเริ่มแรก (Early) แบ่งเป็น 5 ระดับ ดังนี้ ระดับที่ 1. ศึกษาและจัดทำร่างแผนพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลฯ ระยะเริ่มแรก (Early) ระดับที่ 2. นำเสนอร่างแผนพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลฯเข้า อ.ก.ก.ฯ เห็นชอบการดำเนินการตามแผนฯ ระดับที่ 3. ประเมินทักษะด้านดิจิทัลเพื่อค้นหาช่องว่างในการพัฒนา(Gap) และนำผลการประเมินไปกำหนดกลุ่มเป้าหมายและวิธีการพัฒนา ระดับที่ 4. ดำเนินการพัฒนาตามแผนที่กำหนดไว้ ระดับที่ 5. ประเมินผลการพัฒนาเพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนาในปีต่อไป
ค่าเป้าหมาย ระดับ ๕ วิธีคำนวณ - ความสำเร็จระดับที่ 1 คิดผลการดำเนินงานเป็น ร้อยละ 20 (2คะแนน) - ความสำเร็จระดับที่ 1+2 คิดผลการดำเนินงานเป็น ร้อยละ 40 (4คะแนน) - ความสำเร็จระดับที่ 1+2+3 คิดผลการดำเนินงานเป็น ร้อยละ 60 (6คะแนน) - ความสำเร็จระดับที่ 1+2+3+4 คิดผลการดำเนินงานเป็น ร้อยละ 80 (8คะแนน) - ความสำเร็จระดับที่ 1+2+3+4+5คิดผลการดำเนินงานเป็น ร้อยละ 100 (10คะแนน)
หลักฐานการประเมิน - ร่างแผนพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลฯระยะเริ่มแรก (Early) - หนังสือนำเสนอร่างแผนพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลฯเข้า อ.ก.ก.ฯ - รายงานสรุปผลการประเมินทักษะด้านดิจิทัล ฯ - เอกสารการดำเนินการตามแผนที่กำหนด - สรุปการประเมินผลการพัฒนาเพื่อต่อยอดฯ
:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
:๗.๓ - การบริหารทรัพยากรบุคคล |
:๗.๓.๑ บุคลากรกรุงเทพมหานครเป็นผู้ปฏิบัติงานแบบมืออาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม และเป็นที่เชื่% |
:๗.๓.๑.๑ การพัฒนาบุคลากรให้มีทักษะ ความรู้ ความสามารถ มีความเป็นมืออาชีพ |