รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละของโรงพยาบาลที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน “คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ” ระดับทองขึ้นไป : 0700-833

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 40

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 0

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00
100
100 / 100
2
0.00
0
0 / 0
3
0.00
0
0 / 0
4
0.00
0
0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

กรุงเทพมหานครมีนโยบายในการดูแลผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร ให้ได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี สำนักการแพทย์จึงได้จัดตั้งและพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพขึ้น ตั้งแต่ปี 2557 โดยมุ่งหวังที่จะพัฒนาระบบบริการแก่ผู้สูงอายุ ให้ครอบคลุมบริการแบบองค์รวมอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี นอกจากนี้สำนักการแพทย์ ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล จัดทำเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพเฉลิมพระเกียรติ 86 พรรษา พระบรมราชินีนาถ เพื่อพัฒนามาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพและสนับสนุนการจัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพในสถานพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยเกณฑ์การประเมิน 20 ข้อ ดังนี้ 1. มีสถานที่ชัดเจนเป็นสัดส่วนในแบบการบริการผู้ป่วยนอก 2. สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม เช่น ป้าย ราวจับ ทางลาด ห้องน้ำ 3. เปิดบริการอย่างน้อย 1 ครั้งต่อสัปดาห์ 4. พยาบาลที่ดำเนินงานเคยผ่านการฝึกอบรมเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ 5. ทีมสหสาขาวิชาชีพ เช่น แพทย์ กายภาพบำบัด เภสัชกร 6. รวบรวมจำนวน case geriatric syndrome ทุก 3 เดือน 7. Geriatric Assessment ; ADL 8. Geriatric Assessment ; cognitive impairment 9. ประเมินความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกผู้สูงอายุ 10.บุคลากรที่ให้การดูแลผู้ป่วยในคลินิกผู้สูงอายุ ได้รับการฝึกอบรมอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง 11. คัดกรอง incontinence 12. คัดกรอง fall 13. คัดกรอง malnutrition 14. คัดกรอง depression 15. มีแพทย์รับผิดชอบ 16. มีฐานข้อมูลผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบ (เป็นฐานข้อมูลผู้สูงอายุของโรงพยาบาล ได้แก่ ประชากรผู้สูงอายุ UC / catch up area /กลุ่มชมรมผู้สูงอายุ) 17. ความครอบคลุมของ vaccine ไข้หวัดใหญ่ในกลุ่มผู้สูงอายุ 18. งานวิชาการ /วิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุ /นำเสนอ presentation (ทีมสหสาขาวิชาชีพที่ร่วมดูแลงานคลินิกผู้สูงอายุ เป็น co) 19. นวัตกรรมเกี่ยวกับผู้สูงอายุ 20. ส่งปรึกษาภายในโรงพยาบาลกับทีมคลินิกผู้สูงอายุ ทั้งนี้ เกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุ ต้องผ่านเกณฑ์การประเมินระดับเงินและระดับทอง 16 ข้อ ใน 20 ข้อและต้องได้คะแนนตั้งแต่ 35 คะแนนขึ้นไป โดยในปี 2564 โรงพยาบาลที่ต้องผ่านการประเมินคลินิกผู้สูงอายุผุ้สูงอายุระดับทองขึ้นไป ตำรสร 4 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลกลาง โรงพยาบาลตากสิน โรงพยาบาลเจริญกรุงฯ โรงพยาบาลสิรินธร และโรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน โดยอยู่ระหว่างดำเนินการ ดังนี้ 1. โรงพยาบาลกลาง อยู่ระหว่างการเก็บข้อมูลการประเมินผู้สูงอายุรายไตรมาส และมีการประชุมผู้บริหารเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ มีการประชุมสหสาขาวิชาชีพเพื่อแก้ปัญหาของผู้สูงอายุทุกเดือน 2. โรงพยาบาลตากสิน อยู่ในระหว่างการดำเนินงานประชุมทีมเพื่อตอบรับการประเมิน - อยู่ในระหว่างการส่งบุคลากรเข้ารับการอบรมตามเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ - อยู่ในระหว่างการดำเนินงานส่งผลงานประกวดนวัตกรรม จำนวน 2 ผลงาน - อยู่ในระหว่างการดำเนินการก่อสร้างอาคารโครงสร้างเหล็กสำหรับหน่วยเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ 3. โรงพยาบาลเจริญกรุงฯ ดำเนินการตามเกณฑ์การพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ ของ สนพ. อย่างต่อเนื่อง 4. โรงพยาบาลสิรินธร 1. สถานที่ : ห้องตรวจคลินิกผู้สูงอายุ ชั้น 2 ตึกอำนวยการ โรงพยาบาลสิรินธร โดยให้บริการในรูปแบบผู้ป่วยนอก 2. วัน-เวลาทำการ : ทุกวันพุธ และศุกร์ เวลา 8.00 – 12.00 น. 3. สิ่งอำนวยความสะดวก : ครบทั้ง 4 ข้อ ตามเกณฑ์การประเมินคลินิก ได้แก่ ป้ายบ่งชี้คลินิกผู้สูงอายุ/หน่วยบริการอย่างชัดเจน, ราวจับทางเดินอำนวยความสะดวกแก่ผู้สูงอายุ, ทางลาดที่ได้มาตรฐาน, ห้องน้ำผู้สูงอายุ/ผู้พิการ 4. การฝึกอบรมของพยาบาล : - พยาบาลผ่านการการอบรมการคัดกรองในคลินิกผู้สูงอายุ จำนวน 2 คน - พยาบาลผ่านการอบรมหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทาง สาขาการพยาบาลผู้สูงอายุ จำนวน 2 คน - พยาบาลจบการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวน 1 คน - กำลังเข้าศึกษาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเวชปฏิบัติผู้สูงอายุ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวน 1 คน 5. ทีมสหสาขาวิชาชีพ : มีนักโภชนาการที่ดำเนินงานคลินิกผู้สูงอายุ 1 คน 6. มีการรวบรวมจำนวนผู้สูงอายุของโรงพยาบาลที่มี Geriatric Syndromes ทุก 3 เดือน (รายงานเป็นไตรมาส) 7. คลินิกผู้สูงอายุมีการประเมิน/คัดกรอง Geriatric Assessment (รายงานเป็นไตรมาส) ดังนี้ - ADL - คัดกรอง Cognitive impairment (incontinence/fall/malnutrition/depression) 8. มีการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการ 9. มีแพทย์ผู้รับผิดชอบ 1 คน คือ พญ.ชุลีกร โสอุดร 10. กำลังดำเนินการเปิดห้องตรวจฟันสำหรับผู้สูงอายุ ในคลินิกผู้สูงอายุ 5. โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน 1.เปิดศูนย์เวชศาสตร์ผู้สูงอายุบางขุนเทียน ให้การบริการโดยทีมสหวิขาชีพ คัดกรองกลุ้มโรค 8 โรค ให้การรักษาและป้องกัน ดูแลผู้ป่วยแบบต่อเนือง 2. มีการเยี่ยมบ้านแบบทีมประกอบด้วย ทีมโรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน ทีมสำนักงานเขตบางขุนเทียน ทีมศูนย์อนามัย 42 ปัญหาและอุปสรรค 1. สถานที่ค่อนข้างคับแคบ และอยู่ระหว่างรอการก่อสร้างอาคารหน่วยเวชศาสตร์ผู้สูงอายุแล้วเสร็จ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

กรุงเทพมหานครมีนโยบายในการดูแลผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร ให้ได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี สำนักการแพทย์จึงได้จัดตั้งและพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพขึ้น ตั้งแต่ปี 2557 โดยมุ่งหวังที่จะพัฒนาระบบบริการแก่ผู้สูงอายุ ให้ครอบคลุมบริการแบบองค์รวมอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี นอกจากนี้สำนักการแพทย์ ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล จัดทำเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพเฉลิมพระเกียรติ 86 พรรษา พระบรมราชินีนาถ เพื่อพัฒนามาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพและสนับสนุนการจัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพในสถานพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยเกณฑ์การประเมิน 20 ข้อ ดังนี้ 1. มีสถานที่ชัดเจนเป็นสัดส่วนในแบบการบริการผู้ป่วยนอก 2. สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม เช่น ป้าย ราวจับ ทางลาด ห้องน้ำ 3. เปิดบริการอย่างน้อย 1 ครั้งต่อสัปดาห์ 4. พยาบาลที่ดำเนินงานเคยผ่านการฝึกอบรมเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ 5. ทีมสหสาขาวิชาชีพ เช่น แพทย์ กายภาพบำบัด เภสัชกร 6. รวบรวมจำนวน case geriatric syndrome ทุก 3 เดือน 7. Geriatric Assessment ; ADL 8. Geriatric Assessment ; cognitive impairment 9. ประเมินความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกผู้สูงอายุ 10.บุคลากรที่ให้การดูแลผู้ป่วยในคลินิกผู้สูงอายุ ได้รับการฝึกอบรมอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง 11. คัดกรอง incontinence 12. คัดกรอง fall 13. คัดกรอง malnutrition 14. คัดกรอง depression 15. มีแพทย์รับผิดชอบ 16. มีฐานข้อมูลผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบ (เป็นฐานข้อมูลผู้สูงอายุของโรงพยาบาล ได้แก่ ประชากรผู้สูงอายุ UC / catch up area /กลุ่มชมรมผู้สูงอายุ) 17. ความครอบคลุมของ vaccine ไข้หวัดใหญ่ในกลุ่มผู้สูงอายุ 18. งานวิชาการ /วิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุ /นำเสนอ presentation (ทีมสหสาขาวิชาชีพที่ร่วมดูแลงานคลินิกผู้สูงอายุ เป็น co) 19. นวัตกรรมเกี่ยวกับผู้สูงอายุ 20. ส่งปรึกษาภายในโรงพยาบาลกับทีมคลินิกผู้สูงอายุ ทั้งนี้ เกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุ ต้องผ่านเกณฑ์การประเมินระดับเงินและระดับทอง 16 ข้อ ใน 20 ข้อและต้องได้คะแนนตั้งแต่ 35 คะแนนขึ้นไป โดยในปี 2564 โรงพยาบาลที่ต้องผ่านการประเมินคลินิกผู้สูงอายุผุ้สูงอายุระดับทองขึ้นไป ตำรสร 4 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลกลาง โรงพยาบาลตากสิน โรงพยาบาลเจริญกรุงฯ โรงพยาบาลสิรินธร และโรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน โดยอยู่ระหว่างดำเนินการตาม้กณฑ์คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพโ๊รงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

กรุงเทพมหานครมีนโยบายในการดูแลผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร ให้ได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี สำนักการแพทย์จึงได้จัดตั้งและพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพขึ้น ตั้งแต่ปี 2557 โดยมุ่งหวังที่จะพัฒนาระบบบริการแก่ผู้สูงอายุ ให้ครอบคลุมบริการแบบองค์รวมอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี นอกจากนี้สำนักการแพทย์ ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล จัดทำเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพเฉลิมพระเกียรติ 86 พรรษา พระบรมราชินีนาถ เพื่อพัฒนามาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพและสนับสนุนการจัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพในสถานพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยเกณฑ์การประเมิน 20 ข้อ ดังนี้ 1. มีสถานที่ชัดเจนเป็นสัดส่วนในแบบการบริการผู้ป่วยนอก 2. สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม เช่น ป้าย ราวจับ ทางลาด ห้องน้ำ 3. เปิดบริการอย่างน้อย 1 ครั้งต่อสัปดาห์ 4. พยาบาลที่ดำเนินงานเคยผ่านการฝึกอบรมเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ 5. ทีมสหสาขาวิชาชีพ เช่น แพทย์ กายภาพบำบัด เภสัชกร 6. รวบรวมจำนวน case geriatric syndrome ทุก 3 เดือน 7. Geriatric Assessment ; ADL 8. Geriatric Assessment ; cognitive impairment 9. ประเมินความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกผู้สูงอายุ 10.บุคลากรที่ให้การดูแลผู้ป่วยในคลินิกผู้สูงอายุ ได้รับการฝึกอบรมอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง 11. คัดกรอง incontinence 12. คัดกรอง fall 13. คัดกรอง malnutrition 14. คัดกรอง depression 15. มีแพทย์รับผิดชอบ 16. มีฐานข้อมูลผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบ (เป็นฐานข้อมูลผู้สูงอายุของโรงพยาบาล ได้แก่ ประชากรผู้สูงอายุ UC / catch up area /กลุ่มชมรมผู้สูงอายุ) 17. ความครอบคลุมของ vaccine ไข้หวัดใหญ่ในกลุ่มผู้สูงอายุ 18. งานวิชาการ /วิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุ /นำเสนอ presentation (ทีมสหสาขาวิชาชีพที่ร่วมดูแลงานคลินิกผู้สูงอายุ เป็น co) 19. นวัตกรรมเกี่ยวกับผู้สูงอายุ 20. ส่งปรึกษาภายในโรงพยาบาลกับทีมคลินิกผู้สูงอายุ ทั้งนี้ เกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุ ต้องผ่านเกณฑ์การประเมินระดับเงินและระดับทอง 16 ข้อ ใน 20 ข้อและต้องได้คะแนนตั้งแต่ 35 คะแนนขึ้นไป โดยในปี 2564 โรงพยาบาลที่ต้องผ่านการประเมินคลินิกผู้สูงอายุผุ้สูงอายุระดับทองขึ้นไป จำนวน 4 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลกลาง โรงพยาบาลตากสิน โรงพยาบาลเจริญกรุงฯ โรงพยาบาลสิรินธร และโรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน เนื่องจากสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด -19 ทำให้โรงพยาบาลที่ต้องเข้ารับการประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพไม่สามารถดำเนินการตามเกณฑ์ที่กำหนดได้

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

กรุงเทพมหานครมีนโยบายในการดูแลผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร ให้ได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี สำนักการแพทย์จึงได้จัดตั้งและพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพขึ้น ตั้งแต่ปี 2557 โดยมุ่งหวังที่จะพัฒนาระบบบริการแก่ผู้สูงอายุ ให้ครอบคลุมบริการแบบองค์รวมอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี นอกจากนี้สำนักการแพทย์ ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล จัดทำเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ เฉลิมพระเกียรติ 86 พรรษา พระบรมราชินีนาถ เพื่อพัฒนามาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพและสนับสนุนการจัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพในสถานพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร ในปีงบประมาณ 2564 โรงพยาบาลที่จะต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน “คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ” ระดับทองขึ้นไป ร้อยละ 40 ของโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ทั้งหมด ซึ่งปัจจุบันมีโรงพยาบาลที่ผ่านเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพระดับทอง (G) จำนวน 1 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ สำนักการแพทย์ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล ได้มีการประชุมพิจารณาเกณฑ์การตรวจประเมินคลินิกผู้สูงอายุของโรงพยาบาล เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2563 เวลา 13.30 – 16.00 น. ณ ห้องประชุมแพทยพัฒน์ ชั้น 5 สำนักการแพทย์ รวมถึงมีการวางแผนการตรวจประเมินคลินิกผู้สูงอายุในปีงบประมาณ 2564 แต่เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนักการแพทย์ซึ่งมีภารกิจในการดูแลผู้ป่วยโควิด-19 ประกอบกับโรงพยาบาลเป็นสถานที่รองรับการดูแลผู้ป่วยโควิด-19 ได้มีการจัดตั้งโรงพยาบาลสนาม Hospitel และศูนย์พักคอย ซึ่งจำเป็นต้องใช้ทรัพยากรบุคคลจำนวนมากในการดำเนินงานดังกล่าว ทำให้ต้องลดจำนวนการให้บริการหรือกิจกรรมที่ไม่เร่งด่วน รวมถึงกิจกรรมในการดูแลผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีภูมิคุ้มกันต่ำ เสี่ยงต่อการติดเชื้อได้ง่าย จึงทำให้โรงพยาบาลไม่สามารถดำเนินกิจกรรมตามเกณฑ์การประเมินได้ ดังนั้นในปีงบประมาณ 2564 สำนักการแพทย์จึงไม่มีการประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ หมายถึง คลินิกที่ดำเนินกิจกรรม ดังนี้ 1. มีสถานที่ชัดเจนเป็นสัดส่วนในแบบการบริการผู้ป่วยนอก 2. สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม เช่น ป้าย ราวจับ ทางลาด ห้องน้ำ 3. เปิดบริการอย่างน้อย 1 ครั้งต่อสัปดาห์ 4. พยาบาลที่ดำเนินงานเคยผ่านการฝึกอบรมเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ 5. ทีมสหสาขาวิชาชีพ เช่น แพทย์ กายภาพบำบัด เภสัชกร 6. รวบรวมจำนวน case geriatric syndrome ทุก 3 เดือน 7. Geriatric Assessment ; ADL 8. Geriatric Assessment ; cognitive impairment 9. ประเมินความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกผู้สูงอายุ 10.บุคลากรที่ให้การดูแลผู้ป่วยในคลินิกผู้สูงอายุ ได้รับการฝึกอบรมอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง 11. คัดกรอง incontinence 12. คัดกรอง fall 13. คัดกรอง malnutrition 14. คัดกรอง depression 15. มีแพทย์รับผิดชอบ 16. มีฐานข้อมูลผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบ (เป็นฐานข้อมูลผู้สูงอายุของโรงพยาบาล ได้แก่ ประชากรผู้สูงอายุ UC / catch up area /กลุ่มชมรมผู้สูงอายุ) 17. ความครอบคลุมของ vaccine ไข้หวัดใหญ่ในกลุ่มผู้สูงอายุ 18. งานวิชาการ / วิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุ / นำเสนอ presentation (ทีมสหสาขาวิชาชีพที่ร่วมดูแลงานคลินิกผู้สูงอายุ เป็น co) 19. นวัตกรรมเกี่ยวกับผู้สูงอายุ 20. ส่งปรึกษาภายในโรงพยาบาลกับทีมคลินิกผู้สูงอายุ ทั้งนี้ เกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุ ต้องผ่านเกณฑ์การประเมินระดับเงินและระดับทอง 16 ข้อ ใน 20 ข้อและต้องได้คะแนนตั้งแต่ 35 คะแนนขึ้นไป

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

จำนวนโรงพยาบาลที่ผ่านเกณฑ์ประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพระดับทองตามเกณฑ์ ที่กำหนด หารด้วย จำนวน โรงพยาบาลทั้งหมด คูณด้วย 100

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
:๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร
:๓.๑.๓ ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ด%
:๓.๑.๓.๑ พัฒนาคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง