รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละของสัตว์ที่ผ่านการตรวจสุขภาพก่อนเข้าฆ่าและผ่านการตรวจเนื้อหลังฆ่าเพื่ออนุญาตให้นำเนื้อนั้นไปจำหน่ายตามกฎหมาย (ผลลัพธ์) : 0800-0927

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 95

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00
100
100 / 100
2
100.00
100
100 / 100
3
100.00
0
0 / 0
4
100.00
0
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ผลการดำเนินการตรวจเนื้อสัตว์ ณ โรงฆ่าสัตว์ที่กรุงเทพมหานครกำกับดูแลตั้งแต่เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2562 มีสัตว์ที่ผ่านทั้งการตรวจสุขภาพสัตว์ก่อนฆ่าและตรวจเนื้อสัตว์หลังฆ่าเพื่ออนุญาตให้นำเนื้อนั้นไปจำหน่ายได้ตรมกฎหมาย รวมจำนวน 245,960 ตัว และมีสัตว์ที่ตายก่อนฆ่าหรือไม่อนุญาตให้เข้าฆ่าเนื่องจากตรวจสุขภาพไม่ผ่าน รวมจำนวน 0 ตัว คิดเป็นร้อยละ 100...//

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ผลการดำเนินการตรวจเนื้อสัตว์ ณ โรงฆ่าสัตว์ที่กรุงเทพมหานครกำกับดูแลตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 -มีนาคม 2563 มีสัตว์ที่ผ่านทั้งการตรวจสุขภาพสัตว์ก่อนฆ่าและตรวจเนื้อสัตว์หลังฆ่าเพื่ออนุญาตให้นำเนื้อนั้นไปจำหน่ายได้ตรมกฎหมาย รวมจำนวน 586,562 ตัว และมีสัตว์ที่ตายก่อนฆ่าหรือไม่อนุญาตให้เข้าฆ่าเนื่องจากตรวจสุขภาพไม่ผ่าน รวมจำนวน 0 ตัว คิดเป็นร้อยละ 100...//

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ผลการดำเนินการตรวจเนื้อสัตว์ ณ โรงฆ่าสัตว์ที่กรุงเทพมหานครกำกับดูแลตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 -มิถุนายน 2563 มีสัตว์ที่ผ่านทั้งการตรวจสุขภาพสัตว์ก่อนฆ่าและตรวจเนื้อสัตว์หลังฆ่าเพื่ออนุญาตให้นำเนื้อนั้นไปจำหน่ายได้ตรมกฎหมาย รวมจำนวน 1,053,296 ตัว และมีสัตว์ที่ตายก่อนฆ่าหรือไม่อนุญาตให้เข้าฆ่าเนื่องจากตรวจสุขภาพไม่ผ่าน รวมจำนวน 0 ตัว คิดเป็นร้อยละ 100...//

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

--ผลการดำเนินการตรวจเนื้อสัตว์ ณ โรงฆ่าสัตว์ที่กรุงเทพมหานครกำกับดูแลตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 -สิงหาคม 2563 มีสัตว์ที่ผ่านทั้งการตรวจสุขภาพสัตว์ก่อนฆ่าและตรวจเนื้อสัตว์หลังฆ่าเพื่ออนุญาตให้นำเนื้อนั้นไปจำหน่ายได้ตรมกฎหมาย รวมจำนวน 1,504,932 ตัว และมีสัตว์ที่ตายก่อนฆ่าหรือไม่อนุญาตให้เข้าฆ่าเนื่องจากตรวจสุขภาพไม่ผ่าน รวมจำนวน 0 ตัว คิดเป็นร้อยละ 100...//

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

กรุงเทพมหานครมีโรงฆ่าสัตว์ของเอกชนประเภทสุกร โค-กระบือ แพะ-แกะ และไก่ ที่ได้รับใบอนุญาต ฆจส 2 ซึ่งองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่ส่งพนักงานตรวจโรคสัตว์เข้าประจำการตรวจเนื้อสัตว์ตามกฎหมาย ณ โรงฆ่าสัตว์ที่ได้รับใบอนุญาต ฆจส 2 ดังกล่าว

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

วิธีการคำนวณ ผลผลิต : จำนวนสัตว์ที่แจ้งขออนุญาตทำการฆ่าตามกฎหมาย x 100 หารด้วย 700,000 ผลลัพธ์ : จำนวนสัตว์ที่ผ่านการตรวจสุขภาพสัตว์ก่อนฆ่าและตรวจเนื้อสัตว์หลังฆ่า คูณด้วย 100 หารด้วยจำนวนสัตว์ทั้งหมดที่แจ้งขอทำการฆ่าตามกฎหมาย

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

-

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย
:๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน%
:๑.๖.๕.๒ ผู้บริโภครู้จักพิทักษ์สิทธิคุ้มครองความปลอดภัยให้แก่ตนเอง

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง