รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ (ผลลัพธ์) : 0800-6606

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 36

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 28.19

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00
100
100 / 100
2
20.30
0
0 / 0
3
23.66
0
0 / 0
4
28.19
0
0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

กำหนดแนวทางการดำเนินงาน ปี 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มีระดับค่าน้ำตาลอยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ (HbA1c) ครั้งสุดท้ายน้อยกว่า 7 % จำนวน 3,960 คน จากจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ขึ้นทะเบียน จำนวน 19,529 คน คิดเป็นร้อยละ 20.3

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มีระดับค่าน้ำตาลอยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ (HbA1c) ครั้งสุดท้ายน้อยกว่า 7 % จำนวน 4,620 คน จากจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ขึ้นทะเบียน จำนวน 19,529 คน คิดเป็นร้อยละ 23.66

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มีระดับค่าน้ำตาลอยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ (HbA1c) ครั้งสุดท้ายน้อยกว่า 7 % จำนวน 5,505 คน จากจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ขึ้นทะเบียน จำนวน 19,529 คน คิดเป็นร้อยละ 28.19

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้หารด้วยจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมด x 100

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

ศูนย์บริการสาธารณสุข 69 แห่ง

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย
:๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร%
:๑.๖.๑.๓ ดูแลช่วยเหลือกลุ่มเสี่ยงที่พบภาวะซึมเศร้าเข้าสู่ระบบบริการ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง