ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 58
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
จัดประชุมคณะกรรมการพัฒนาบริการสุขภาพปฐมภูมิของสำนักอนามัย ครั้งที่ 1 วันที่ 24 ธันวามคม 2563 มอบหมายให้ทุก ศบส.69 แห่ง เตรียมความพร้อมด้านบุคลากร เพื่อให้เป็นไปตาม พรบ.ระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ.2562 และมอบประธานกลุ่มศูนย์บริการสาธารรสุข สำรวจแพทย์ประจำของศูนย์บริการสาธารณสุข ที่ยังไม่ผ่านการอบรมแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว
จัดประชุมคณะกรรมการพัฒนาบริการสุขภาพปฐมภูมิของสำนักอนามัย ครั้งที่ 1 วันที่ 24 ธันวามคม 2563 มอบหมายให้ทุก ศบส.69 แห่ง เตรียมความพร้อมด้านบุคลากร เพื่อให้เป็นไปตาม พรบ.ระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ.2562 และมอบประธานกลุ่มศูนย์บริการสาธารรสุข สำรวจแพทย์ประจำของศูนย์บริการสาธารณสุข ที่ยังไม่ผ่านการอบรมแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว
จัดประชุมคณะกรรมการพัฒนาบริการสุขภาพปฐมภูมิของสำนักอนามัย ครั้งที่ 1 วันที่ 24 ธันวามคม 2563 มอบหมายให้ทุก ศบส.69 แห่ง เตรียมความพร้อมด้านบุคลากร เพื่อให้เป็นไปตาม พรบ.ระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ.2562 และมอบประธานกลุ่มศูนย์บริการสาธารรสุข สำรวจแพทย์ประจำของศูนย์บริการสาธารณสุข ที่ยังไม่ผ่านการอบรมแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว
ในปีงบประมาณพ.ศ2564 มีเขตที่เข้าร่วม 50 เขต ดำเนินการได้ครบทั้ง 50 เขต ดำเนินได้เกินเป้าหมายที่กำหนดไว้ซึ่งกำหนดไว้ 29 เขต
ระบบสุขภาพปฐมภูมิ หมายความว่า กลไกและกระบวนการในการประสานความร่วมมือเพื่อจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิ โดยการมีส่วนร่วมระหว่างศูนย์บริการสาธารณสุข โรงพยาบาล คลินิก ชุมชนอบอุ่น และภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งการส่งต่อผู้รับบริการและการเชื่อมโยงข้อมูลที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งการส่งต่อผู้รับบริการและการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยบริการทั้งระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ โดยมีศูนย์บริการสาธารณสุขทำหน้าที่เป็น Area manager ประจำแต่ละเขต หน่วยบริการปฐมภูมิ หมายถึง หน่วยบริการที่ได้ขึ้นทะเบียนเพื่อให้บริการสุขภาพปฐมภูมิตามพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ.2562 โดยมีคณะผู้ให้บริการประกอบด้วย แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวอย่างน้อยหนึ่งคน ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลหรือผู้ประกอบวิชาชีพการสาธารณสุข จำนวนสองคนขึ้นไปและภายใน 2 ปี ใน กรรีที่หน่วยบริการใดที่จะขึ้นทะเบียนเพื่อเป็นหน่วยบริการปฐมภูมิหรือเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ ไม่สามารถจัดให้มีคณะผู้ให้บริการสุขภาพปฐมภูมิครบตามองค์ประกอบ ให้หน่วยบริการนั้น จัดให้มีผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทย์และสาธารณสุขได้ตามความเหมาะสมกับสภาพพื้นที่โดยความเห็นชอบของปลัดกระทรวงสาธารณสุข บริการสุขภาพปฐมภูมิ 1.การดูแลสุขภาพในลักษณะองค์รวม ตั้งแต่แรก ต่อเนื่องและผสมผสาน 2.การบริการด้านข้อมูลและการให้คำปรึกษาแก่ประชาชน 3.การบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขในระดับบุคคลและครอบครัว โดยการให้บริการ การส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมโรค การป้องกันโรค การตรวจวินิจฉัยโรค การรักษาพยาบาลและการฟื้นฟูสุขภาพ เชิงรับและเชิงรุกในพื้นที่ 4. การส่งเสริมให้ประชาชนมีศักยภาพและมีความรู้ในการจัดการสุขภาพของตนเองและครอบครัว 5. การส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนและภาคีเครือข่ายในการส่งเสริมสุขภาพ รวมทั้งการป้องกันและควบคุมโรคในระดับชุมชน
จำนวนเขตที่เข้าร่วมดำเนินงาน X100 หาร จำนวนเขตทั้งหมด
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
:๑.๖.๓ คนกรุงเทพฯทุกคนมีโอกาสได้รับบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที่เท่าเทียม มีคุณภาพ แ% |
:๑.๖.๓.๒ จัดบริการทางการแพทย์ให้ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานครนธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนในเรื่องโรคคนเมืองและอาหารปลอดภัยทุกรูปแบบทุกช่องทาง |