รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ที่ปฏิบัติงานจริงได้รับการติดตาม กำกับ ดูแล จากพยาบาลผู้จัดการสุขภาพผู้ตรวจการพยาบาล (ผลลัพธ์) : 0800-6632

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00
100
100 / 100
2
0.00
0
0 / 0
3
100.00
0
0 / 0
4
100.00
0
0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

กิจกรรมที่ 5 การพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) ในโครงการ การพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ได้ดำเนินการจ้างบุคคลภายนอกตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพปฏิบัติหน้าที่ผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน เรียบร้อยแล้ว และอยู่ระหว่างดำเนินการจ้างเหมาพิมพ์เอกสารการประเมิน ติดตาม กำกับงานการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านสำหรับผู้ตรวจการพยาบาล และขณะนี้ได้เตรียมกำหนดตารางแผนงานออกตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุขเรียบร้อยแล้ว ด้วยสถานการณ์โรคระบาดโรควิค 19 จึงจะเริ่มออกตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุขในเดือนกุมภาพันธ์ 2564 เป็นต้นไป

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

กิจกรรมที่ 5 การพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) ในโครงการ การพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ได้ดำเนินการจ้างบุคคลภายนอกตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพปฏิบัติหน้าที่ผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน เรียบร้อยแล้ว และขณะนี้ได้เตรียมกำหนดตารางแผนงานออกตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุขเรียบร้อยแล้ว ด้วยสถานการณ์โรคระบาดโรควิค 19 จึงจะเริ่มออกตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย ในเดือนเมษายน 2564 เป็นต้นไป

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

มีผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านที่ปฏิบัติงานจริง จำนวน 3,362 คน ได้รับการติดตาม กำกับ ดูแลฯ และจำนวนผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลฯ ทั้งหมด จำนวน 3,362 คน คิดเป็นร้อยละ 100 กิจกรรมที่ 5 การพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) ในโครงการ การพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด 19 ระลอกใหม่ ได้เลื่อนตารางการตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุข จนกว่าสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด 19 จะดีขึ้น

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

มีผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านที่ปฏิบัติงานจริง จำนวน 3,362 คน ได้รับการติดตาม กำกับ ดูแลฯ และจำนวนผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลฯ ทั้งหมด จำนวน 3,362 คน คิดเป็นร้อยละ 100 เนื่องจากอยู่ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด19 ทำให้มีความยากลำบากในการลงพื้นที่ตรวจเยี่ยม

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

ผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุ หมายถึง ผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรผู้ดูแลฯ จากสำนักอนามัย และปฏิบัติงานจริง มีความต่อเนื่อง โดยมีพยาบาลผู้จัดการสุขภาพและผู้ตรวจการพยาบาล ปฏิบัติหน้าที่การติดตาม กำกับ ดูแล ตามมาตรฐานที่กำหนด

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

จำนวนผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ที่ปฏิบัติงานจริงได้รับการติดตาม กำกับ ดูแล จากพยาบาลผู้จัดการสุขภาพและผู้ตรวจการพยาบาลx 100 หารจำนวนผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านที่ปฏิบัติงานจริงทั้งหมด

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
:๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร
:๓.๑.๓ ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ด%
:๓.๑.๓.๒ พัฒนาระบบบริการช่องทางด่วนให้กับผู้สูงอายุ (Fast Track)

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง