รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

(New) ร้อยละความสำเร็จในการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมในบริเวณพื้นที่จุดเสี่ยงน้ำท่วมขังของกรุงเทพมหานคร (ผลผลิต) (กรท.) : 1100-0831

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 99

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 95

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
39.00
100
100 / 100
2
30.00
95
95 / 100
3
42.00
95
95 / 100
4
99.00
95
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างรายงานความเห็นชอบให้ดำเนินการจัดจ้าง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

อยู่ระหว่างยกเลิกประกาศประกวดราคาและทบทวนร่างขอบเขตใหม่ตามระเบียบ ว89 ปรับลดเปอร์เซ็นต์ จาก 39% เป็น 30% เนื่องจากทำการทบทวนร่างขอบเขตใหม่ตามระเบียบ ว89 (แนวทางปฏิบัติตามกฎกระทรวงกำหนดพัสดุและวิธีการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุที่รัฐต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2563)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

อยู่ระหว่างขออนุมัติจ้างดำเนินงาน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการแล้วเสร็จ อยู่ระหว่างรอเบิกเงิน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

การแก้ไขปัญหาน้ำท่วมในพื้นที่จุดเสี่ยงน้ำท่วมของกรุงเทพมหานคร หมายถึง การแก้ไขปัญหาน้ำท่วมเนื่องจากน้ำฝนและน้ำหลากเข้าในบริเวณพื้นที่จุดเสี่ยง น้ำท่วมขังของกรุงเทพมหานคร จำนวน 14 จุด ให้สามารถลดระยะเวลาการระบายน้ำท่วมขังได้เร็วขึ้น ลดผลกระทที่จะเกิดแก่ประชาชนให้น้อยลง โดยจัดทำแผนเตรียมการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมในบริเวณพื้นที่จุดเสี่ยงน้ำท่วมขังของกรุงเทพมหานคร จำนวน 14 จุด และจัดหน่วยปฏิบัติการเร่งด่วนแก้ไขปัญหา น้ำท่วมพร้อมอุปกรณ์เครื่องมือ เครื่องสูบน้ำ ติดตั้งเครื่องผลักดันน้ำบริเวณพื้นที่จุดเสี่ยงทั้ง 14 จุด เพื่อเร่งระบายน้ำออกจากผิวถนนให้เข้าสู่สภาวะปกติภายในระยะเวลา 120 นาที

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

ใช้ค่าข้อมูลจากระบบโทรมาตรแสดงผลแบบเรียลไทม์ (Real-Time) และรายงานสถานการณ์ น้ำท่วมภาคสนาม จากกองสารสนเทศระบายน้ำ สำนักการระบายน้ำ ตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค. 63 ถึง 30 ก.ย. 64

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

โดยใช้ข้อมูลสถิติที่บันทึกไว้จากกองระบบสารสนเทศระบายน้ำ

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๔ - ปลอดภัยพิบัติ
:๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ%
:๑.๔.๑.๑ กรุงเทพมหานครมีความพร้อมในการรับมือกับอุทกภัยทั้งจากน้ำฝนน้ำหนุนและน้ำหลาก เสริมสร้างศักยภาพและความสามารถด้านบุคลากรและเครื่องมือ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง