ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 6.5
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 8.55
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
รายงานผลครั้งที่ 1 ระหว่างเดือน ตุลาคม-ธันวาคม ปริมาณน้ำเข้าระบบปีงบ 64(ต.ค.-พ.ย.62) เท่ากับ 58,419,129 ลบม. ปริมาณน้ำรียูสรวม 3,620,454 ลบ.ม. เฉลี่ย 59,352 ลบ.ม./วัน คิดเป็นร้อยละ 6.20
รายงานผลครั้งที่ 2 เดือน ตุลาคม2563-มีนาคม 2564 ปริมาณน้ำเข้าระบบปีงบ 64(ต.ค.63-ก.พ.64) เท่ากับ 133,711,950 ลบม.ปริมาณน้ำรียูสรวม 9,376,834 ลบ.ม. เฉลี่ย 62,098 ลบ.ม./วัน คิดเป็นร้อยละ 7.01 อยู่ระหว่างขั้นตอนการแจกจ่ายน้ำรียูสให้กับหน่วยงานต่างๆ
รายงานผลครั้งที่ 3 เดือน ตุลาคม2563-พฤษภาคม 2564 ปริมาณน้ำเข้าระบบปีงบ 64(ต.ค.63-พ.ค.64) เท่ากับ 201,673,532 ลบม.ปริมาณน้ำรียูสรวม 16,689,973 ลบ.ม. เฉลี่ย 68,683 ลบ.ม./วัน คิดเป็นร้อยละ 8.28 อยู่ระหว่างขั้นตอนการแจกจ่ายน้ำรียูสให้กับหน่วยงานต่างๆ
รายงานผลครั้งที่ 4 เดือน ตุลาคม2563-สิงหาคม 2564 ปริมาณน้ำเข้าระบบเดือน ส.ค.64 เท่ากับ 28,383,011 ลบ.ม.ปริมาณน้ำรียูส 2,445,600 ลบ.ม. หรือ 78,890 ลบ.ม./วัน คิดเป็นร้อยละ 8.61 รวมน้ำเข้าปีงบ 64 สะสม ต.ค.63-ส.ค.64 เท่ากับ 279,940,305 ลบม. ปริมาณน้ำรียูสรวม 23,934,062 ลบ.ม. เฉลี่ย 71,445 ลบ.ม./วัน คิดสะสมเป็นร้อยละ 8.55 อยู่ระหว่างขั้นตอนการแจกจ่ายน้ำรียูสให้กับหน่วยงานต่างๆ
ปริมาณน้ำที่ผ่านการบำบัดถูกนำกลับมาใช้ประโยชน์ หมายถึง ปริมาณน้ำผ่านการบำบัดจากโรงควบคุมคุณภาพน้ำขนาดใหญ่ของกรุงเทพมหานครที่เปิดดำเนินการ จำนวน 8 แห่ง และมีการนำน้ำกลับมาใช้ประโยชน์ เช่น นำไปล้างท่อ ล้างถนน รดน้ำต้นไม้ รวมถึงการแปรรูปกากตะกอนน้ำเสียกลับมาไปใช้ประโยชน์ เช่น ผลิตปุ๋ยหมัก เชื้อเพลิง วัสดุก่อสร้าง เป็นต้น
ปริมาณน้ำที่ผ่านการบำบัดและนำกลับมาใช้ประโยชน์ คูณ 100 หารด้วย ปริมาณน้ำที่ผ่านการบำบัดแล้วทั้งหมดของโรงควบคุมคุณภาพน้ำขนาดใหญ่ ๘ แห่ง
-
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๑ - ปลอดมลพิษ |
:๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ% |
:๑.๑.๑.๑ คุณภาพแหล่งน้ำธรรมชาติในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครมีคุณภาพดีขึ้น |