รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการและประชาชนที่มีต่อโครงการกลับบ้านปลอดภัยไปกับเทศกิจ : 1500-1466

ค่าเป้าหมาย คะแนน : 3.51

ผลงานที่ทำได้ คะแนน : 3.91

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(คะแนน)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00
95
95 / 100
2
0.00
0
0 / 0
3
3.91
0
0 / 0
4
3.91
0
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ทอดแบบสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการและประชาชนที่มีต่อโครงการกลับบ้านปลอดภัยไปกับเทศกิจ จำนวน 500 ชุด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

กำหนดทอดแบบสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการและประชาชน ที่มีต่อโครงการกลับบ้านปลอดภัยไปกับเทศกิจ จำนวน 500 ชุด ในเดือนพฤษภาคม 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ผลสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการและประชาชน ที่มีต่อโครงการกลับบ้านปลอดภัยไปกับเทศกิจ จำนวน 500 ชุด ในเดือนพฤษภาคม 2564 ประชาชนมีความพึงพอใจระดับมาก (3.51-4.50) ได้คะแนนเฉลี่ย 3.91

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ผลสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการและประชาชน ที่มีต่อโครงการกลับบ้านปลอดภัยไปกับเทศกิจ จำนวน 500 ชุด ในเดือนพฤษภาคม 2564 ประชาชนมีความพึงพอใจระดับมาก (3.51-4.50) ได้คะแนนเฉลี่ย 3.91

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

1. บริการ หมายถึง การให้ความสะดวกและดูแลความปลอดภัยแก่คนที่อาศัยหรือสัญจรในบริเวณนั้น ๆ ด้วยการใช้รถสายตรวจเทศกิจรับ-ส่งประชาชน ระหว่างเวลา 21.00 – 02.00 น. 2. ผู้ให้บริการ หมายถึง เจ้าหน้าที่เทศกิจของสำนักเทศกิจสนับสนุนการปฏิบัติงานร่วมกับฝ่ายเทศกิจ สำนักงานเขต 3. ผู้รับบริการและประชาชน หมายถึง คนที่อาศัยหรือสัญจรในบริเวณพื้นที่เสี่ยง 4. เส้นทาง/จุดบริการ หมายถึง พื้นที่เสี่ยงต่าง ๆ และ/หรือถนนที่มีรถวิ่งผ่านน้อยหรือไม่มีวิ่งผ่านในช่วงเวลากลางคืนตามที่สำนักงานเขตกำหนด 5. พื้นที่เสี่ยง หมายถึง พื้นที่ที่มีโอกาสที่จะเกิดเหตุอันตราย เหตุอาชญากรรม หรือเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ในการดำเนินชีวิตของประชาชนตามที่สำนักงานเขตกำหนด 6. ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกเชิงบวกของประชาชนต่อการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่เทศกิจในการดูแลความปลอดภัยและอำนวยความสะดวกตามโครงการฯ โดยระดับความพึงพอใจ แบ่งเป็น 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

1. ระดับความพึงพอใจฯ คิดจากการค่าหาเฉลี่ย ดังนี้ 1.1 การหาค่าเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจแต่ละหัวข้อ x ̅_i=(∑_(i=1)^5▒〖w_i x_i 〗)/n_i x ̅_i คือ ค่าเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจแต่ละหัวข้อ Wi คือ จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามในแต่ละระดับความพึงพอใจ Xi คือ ค่าระดับความพึงพอใจแต่ละระดับ ดังนี้ 5 คือ ระดับความพึงพอใจมากที่สุด 4 คือ ระดับความพึงพอใจมาก 3 คือ ระดับความพึงพอใจปานกลาง 2 คือ ระดับความพึงพอใจน้อย 1 คือ ระดับความพึงพอใจน้อยที่สุด ni คือ จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามแต่ละหัวข้อ 1.2 การหาค่าเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจรวม x ̅=(∑_(i=1)^n▒x ̅_i )/N x ̅ คือ ค่าเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจรวม Ʃ คือ ผลรวมของค่าเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจแต่ละหัวข้อทั้งหมด N คือ ผลรวมจำนวนหัวข้อทั้งหมด โดยกำหนดค่าเฉลี่ยออกเป็น 5 ระดับ ได้แก่ ค่าเฉลี่ยระหว่าง 4.51 – 5.00 หมายถึง ความพึงพอใจระดับมากที่สุด 3.51 – 4.50 หมายถึง ความพึงพอใจระดับมาก 2.51 – 3.50 หมายถึง ความพึงพอใจระดับปานกลาง 1.51 – 2.50 หมายถึง ความพึงพอใจระดับน้อย 1.00 – 1.50 หมายถึง ความพึงพอใจระดับน้อยที่สุด

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

1. เก็บข้อมูลการออกปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่เทศกิจและจำนวนผู้รับบริการแยกรายเดือนและรายหน่วยงาน 2. จัดทำแบบสำรวจความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่า 1,000 ชุด 3. จัดเก็บสถิติคดีอุบัติเหตุและคดีอาชญากรรมทุกประเภท ด้วยการรวบรวมข้อมูลคดีที่เกิดขึ้น ณ เส้นทาง/จุดบริการที่กำหนดในรัศมี 0.5 กิโลเมตร แยกรายเดือนและรายเส้นทาง/จุดบริการ โดยประสานความร่วมมือจากสถานีตำรวจท้องที่

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด
:๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน%
:๑.๒.๑.๑ เสริมสร้างความปลอดภัยเพื่อลดความล่อแหลมของสภาพแวดล้อมต่อการก่อ อาชญากรรม

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง