ค่าเป้าหมาย คะแนน : 4
ผลงานที่ทำได้ คะแนน : 4.47
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
จัดเจ้าหน้าที่ชุดตรวจปฏิบัติการทางน้ำ พร้อมเรือตรวจการณ์ 1 ลำ ออกปฏิบัติหน้าที่ตรวจสอบดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อย ดูแลความปลอดภัยและอำนวยความสะดวกให้การช่วยเหลือประชาชนและนักท่องเที่ยวที่ใช้โป๊ะและท่าเรือ และคอยให้ ความช่วยเหลือกรณีเกิดอุบัติเหตุทางน้ำ ในแม่น้ำเจ้าพระยา ตั้งแต่สะพานกรุงธน (ซังฮี้) ถึงสะพานสาทร รวมถึงประชาสัมพันธ์การรักษาความสะอาดให้กับประชาชนที่อาศัยอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา และคลองสายหลัก เดือนพฤศจิกายน 2563 ทำการออกตรวจทางน้ำ จำนวน 36 ครั้ง จำนวนผู้รับบริการโดยประมาณ 4,500 ราย เดือน ธันวาคม 2563 ทำการออกตรวจทางน้ำ จำนวน 40 ครั้ง จำนวนผู้รับบริการโดยประมาณ 5,500 ราย * ขณะปฏิบัติหน้าที่ไม่พบผู้ประสบอุบัติเหตุทางน้ำ
สำนักเทศกิจ จัดเจ้าหน้าที่ชุดตรวจปฏิบัติการทางน้ำ พร้อมเรือตรวจการณ์ 1 ลำ ออกปฏิบัติหน้าที่ตรวจสอบดูแล ความเป็นระเบียบเรียบร้อย ดูแลความปลอดภัยและอำนวยความสะดวกให้การช่วยเหลือประชาชนและนักท่องเที่ยวที่ใช้โป๊ะและท่าเรือ และคอยให้ความช่วยเหลือกรณีเกิดอุบัติเหตุทางน้ำ ในแม่น้ำเจ้าพระยาตั้งแต่สะพานกรุงธน (ซังฮี้) ถึงสะพานสาทร รวมถึงประชาสัมพันธ์การรักษาความสะอาดให้กับประชาชน ที่อาศัยอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา และคลองสายหลัก เดือนมกราคม 2564 ทำการออกตรวจทางน้ำ จำนวน 40 ครั้ง จำนวนผู้รับบริการโดยประมาณ 5,000 ราย เดือนกุมภาพันธ์ 2564 ทำการออกตรวจทางน้ำ จำนวน 36 ครั้ง จำนวนผู้รับบริการโดยประมาณ 4,800 ราย เดือนมีนาคม 2564 ทำการออกตรวจทางน้ำ จำนวน 40 ครั้ง จำนวนผู้รับบริการโดยประมาณ 3,000 ราย * ขณะปฏิบัติหน้าที่ไม่พบผู้ประสบอุบัติเหตุทางน้ำ การสำรวจความพึงพอใจอยู่ระหว่างจัดทำแบบสำรวจ ความพึงพอใจไม่น้อยกว่า 400 ชุด
สำนักเทศกิจ จัดเจ้าหน้าที่ชุดตรวจปฏิบัติการทางน้ำ พร้อมเรือตรวจการณ์ 1 ลำ ออกปฏิบัติหน้าที่ตรวจสอบดูแล ความเป็นระเบียบเรียบร้อย ดูแลความปลอดภัยและอำนวยความสะดวกให้การช่วยเหลือประชาชนและนักท่องเที่ยวที่ใช้โป๊ะและท่าเรือ และคอยให้ความช่วยเหลือกรณีเกิดอุบัติเหตุทางน้ำ ในแม่น้ำเจ้าพระยาตั้งแต่สะพานกรุงธน (ซังฮี้) ถึงสะพานสาทร รวมถึงประชาสัมพันธ์การรักษาความสะอาดให้กับประชาชน ที่อาศัยอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา และคลองสายหลัก เดือนเมษายน 2564 ทำการออกตรวจทางน้ำ จำนวน 50 ครั้ง จำนวนผู้รับบริการโดยประมาณ 6,550 ราย เดือนพฤษภาคม 2564 ทำการออกตรวจทางน้ำ จำนวน 36 ครั้ง จำนวนผู้รับบริการโดยประมาณ 3,000 ราย เดือนมิถุนายน 2564 ทำการออกตรวจทางน้ำ จำนวน 40 ครั้ง จำนวนผู้รับบริการโดยประมาณ 3,500 ราย * ขณะปฏิบัติหน้าที่ไม่พบผู้ประสบอุบัติเหตุทางน้ำ สรุปผลการสำรวจความพึงพอใจ ครั้งที่ 1 จำนวน 200 ชุด ได้คะแนนความพึงพอใจเฉลี่ย 4.492 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน
สำนักเทศกิจ จัดเจ้าหน้าที่ชุดตรวจปฏิบัติการทางน้ำ พร้อมเรือตรวจการณ์ 1 ลำ ออกปฏิบัติหน้าที่ตรวจสอบดูแล ความเป็นระเบียบเรียบร้อย ดูแลความปลอดภัยและอำนวยความสะดวกให้การช่วยเหลือประชาชนและนักท่องเที่ยวที่ใช้โป๊ะและท่าเรือ และคอยให้ความช่วยเหลือกรณีเกิดอุบัติเหตุทางน้ำ ในแม่น้ำเจ้าพระยาตั้งแต่สะพานกรุงธน (ซังฮี้) ถึงสะพานสาทร รวมถึงประชาสัมพันธ์การรักษาความสะอาดให้กับประชาชน ที่อาศัยอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา และคลองสายหลัก เดือนกรกฎาคม 2564 ทำการออกตรวจทางน้ำ จำนวน 45 ครั้ง จำนวนผู้รับบริการโดยประมาณ 3,000 ราย เดือนสิงหาคม 2564 โดยทำการออกตรวจทางน้ำ จำนวน 60 ครั้ง จำนวนผู้รับบริการโดยประมาณ 3,000 ราย เดือน กันยายน 2564 ทำการออกตรวจทางน้ำ จำนวน 60 ครั้ง จำนวนผู้รับบริการโดยประมาณ 3,000 ราย สรุปผลการสำรวจความพึงพอใจ ครั้งที่ 2 จำนวน 200 ชุด ได้คะแนนความพึงพอใจเฉลี่ย 4.455 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน รวม ครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 = 4.473
1. การออกตรวจทางน้ำ หมายถึง การจัดเจ้าหน้าที่เทศกิจชุดตรวจปฏิบัติการทางน้ำของสำนักเทศกิจ พร้อมเรือตรวจการณ์ 1 ลำ ปฏิบัติงานดูแลความปลอดภัย ความเป็นระเบียบเรียบร้อย และอำนวยความสะดวกช่วยเหลือประชาชนและนักท่องเที่ยวที่ใช้โป๊ะและท่าเรือ รวมถึงการให้ความช่วยเหลือกรณีเกิดภัยทางน้ำบริเวณแม่น้ำเจ้าพระยา ระยะทางตั้งแต่สะพานกรุงธน (ซังฮี้) ถึงสะพานสาทร วันละ 2 ครั้ง ในช่วงเวลาเร่งด่วน (ช่วงเช้าเวลา 07.30 - 09.00 น. และช่วงเย็นเวลา 05.00 - 17.00 น.) 2. ท่าเรือ หมายถึง บริเวณท่าเรือ 1 - 27 ท่าเรือ ตามโครงการฯ 3. ประชาชน หมายถึง ผู้ที่ใช้บริการเรือโดยสารเพื่อการสัญจรในแม่น้ำเจ้าพระยา ระยะทางระหว่างสะพานกรุงธน (ซังฮี้) ถึงสะพานสาทร 4. ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกเชิงบวกของประชาชนต่อการดูแลและอำนวยความสะดวกด้านความปลอดภัยบริเวณท่าเรือของเจ้าหน้าที่เทศกิจ
ระดับความพึงพอใจฯ คิดจากการค่าหาเฉลี่ย ดังนี้ 1. การหาค่าเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจแต่ละหัวข้อ x ̅_i=(∑_(i=1)^5▒〖w_i x_i 〗)/n_i x ̅_i คือ ค่าเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจแต่ละหัวข้อ Wi คือ จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามในแต่ละระดับความพึงพอใจ Xi คือ ค่าระดับความพึงพอใจแต่ละระดับ ดังนี้ 5 คือ ระดับความพึงพอใจมากที่สุด 4 คือ ระดับความพึงพอใจมาก 3 คือ ระดับความพึงพอใจปานกลาง 2 คือ ระดับความพึงพอใจน้อย 1 คือ ระดับความพึงพอใจน้อยที่สุด ni คือ จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามแต่ละหัวข้อ 2. การหาค่าเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจรวม x ̅=(∑_(i=1)^n▒x ̅_i )/N x ̅ คือ ค่าเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจรวม Ʃ คือ ผลรวมของค่าเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจแต่ละหัวข้อทั้งหมด N คือ ผลรวมจำนวนหัวข้อทั้งหมด โดยกำหนดค่าเฉลี่ยออกเป็น 5 ระดับ ได้แก่ ค่าเฉลี่ยระหว่าง 4.51 – 5.00 หมายถึง ความพึงพอใจระดับมากที่สุด 3.51 – 4.50 หมายถึง ความพึงพอใจระดับมาก 2.51 – 3.50 หมายถึง ความพึงพอใจระดับปานกลาง 1.51 – 2.50 หมายถึง ความพึงพอใจระดับน้อย 1.00 – 1.50 หมายถึง ความพึงพอใจระดับน้อยที่สุด
โครงการนี้มีกิจกรรมที่ต้องดำเนินการเพิ่มเติมจากกิจกรรมหลักของโครงการด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลแยกรายสำนักเทศกิจและสำนักเขต เพื่อจัดทำสรุปภาพรวมโครงการระดับกรุงเทพมหานคร ดังนี้ 1. เก็บข้อมูลการออกปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่เทศกิจและจำนวนผู้รับบริการแยกรายเดือนและรายหน่วยงาน 2. จัดทำแบบสำรวจความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่า 400 ชุด 3. จัดเก็บสถิติคดีอุบัติเหตุ คดีอุบัติภัย และคดีอาชญากรรมทุกประเภท ด้วยการรวบรวมข้อมูลคดีที่เกิดขึ้น ณ ท่าเรือ ในเรือ และแม่น้ำ ขณะออกปฏิบัติงาน แยกรายเดือนและรายสถานที่ โดยประสานความร่วมมือจากสถานีตำรวจท้องที่ กรมเจ้าท่า และบริษัทเดินเรือต่าง ๆ
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๓ - ปลอดอุบัติเหตุ |
:๑.๓.๑ ลดความสูญเสียจากอุบัติเหตุจราจร% |
:๑.๓.๑.๒ ลดการกระทำผิดกฎจราจร |