รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ระดับความพึงพอใจของประชาชนต่อการตรวจตราถนนสายหลัก 15 เส้นทาง (จำนวนถนนสายหลักที่ได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์) : 1500-1469

ค่าเป้าหมาย คะแนน : 3.51

ผลงานที่ทำได้ คะแนน : 4.57

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(คะแนน)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00
95
95 / 100
2
0.00
0
0 / 0
3
4.54
0
0 / 0
4
4.57
0
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ทอดแบบสอบถามความพึงพอใจของประชาชนต่อการจัดระเบียบถนนสายหลัก

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

อยู่ระหว่างทอดแบบสอบถามความพึงพอใจ ครั้งที่ 1

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

สรุปผลการสำรวจความพึงพอใจของประชาชนในการดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อย ความสะอาดและความปลอดภัยบนถนนและทางเท้า ตามโครงการจัดระเบียบถนนสายหลักในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ช่วงระยะเวลาที่ดำเนินการสำรวจ ครั้งที่ 1 เดือนมีนาคม 2564 จากกลุ่มตัวอย่าง 250 คน มีความพึงพอใจฯ ระดับคะแนนเฉลี่ย 4.54 คะแนน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

สรุปผลการสำรวจความพึงพอใจของประชาชนในการดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อย ความสะอาดและความปลอดภัยบนถนนและทางเท้า ตามโครงการจัดระเบียบถนนสายหลักในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ช่วงระยะเวลาที่ดำเนินการสำรวจ ครั้งที่ 2 เดือนกันยายน 2564 จากกลุ่มตัวอย่าง 250 คน มีความพึงพอใจฯ ระดับคะแนนเฉลี่ย 4.59 คะแนน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

1. ถนนสายหลัก หมายถึง จำนวน 15 เส้นทาง ได้แก่ 2. การตรวจตรา หมายถึง การตรวจพื้นที่ของถนนสายหลักที่ได้รับการปรับภูมิทัศน์ตามแผนปฏิบัติงานและเงื่อนไขที่กำหนด 3. ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกเชิงบวกของประชาชนต่อการออกตรวจตราและดูแลถนนสายหลักที่ได้รับการปรับภูมิทัศน์ของเจ้าหน้าที่เทศกิจ 4. ประชาชน หมายถึง ผู้ที่อาศัยหรือสัญจรในบริเวณพื้นที่ถนนสายหลักที่ได้รับการปรับภูมิทัศน์

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

1. ระดับความพึงพอใจฯ คิดจากการค่าหาเฉลี่ย ดังนี้ 1.1 การหาค่าเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจแต่ละหัวข้อ x ̅_i=(∑_(i=1)^5▒〖w_i x_i 〗)/n_i x ̅_i คือ ค่าเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจแต่ละหัวข้อ Wi คือ จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามในแต่ละระดับความพึงพอใจ Xi คือ ค่าระดับความพึงพอใจแต่ละระดับ ดังนี้ 5 คือ ระดับความพึงพอใจมากที่สุด 4 คือ ระดับความพึงพอใจมาก 3 คือ ระดับความพึงพอใจปานกลาง 2 คือ ระดับความพึงพอใจน้อย 1 คือ ระดับความพึงพอใจน้อยที่สุด ni คือ จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามแต่ละหัวข้อ 1.2 การหาค่าเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจรวม x ̅=(∑_(i=1)^n▒x ̅_i )/N x ̅ คือ ค่าเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจรวม Ʃ คือ ผลรวมของค่าเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจแต่ละหัวข้อทั้งหมด N คือ ผลรวมจำนวนหัวข้อทั้งหมด โดยกำหนดค่าเฉลี่ยออกเป็น 5 ระดับ ได้แก่ ค่าเฉลี่ยระหว่าง 4.51 – 5.00 หมายถึง ความพึงพอใจระดับมากที่สุด 3.51 – 4.50 หมายถึง ความพึงพอใจระดับมาก 2.51 – 3.50 หมายถึง ความพึงพอใจระดับปานกลาง 1.51 – 2.50 หมายถึง ความพึงพอใจระดับน้อย 1.00 – 1.50 หมายถึง ความพึงพอใจระดับน้อยที่สุด

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

ใช้แบบสอบถามความพึงพอใจ

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
:๒.๑ - ภูมิทัศน์สวยงาม
:๒.๑.๑ กรุงเทพมหานครจัดระเบียบเมือง ปรับปรุงทัศนียภาพของเมืองให้แลดูสะอาด ไม่มีสายไฟฟ้า%
:๒.๑.๑.๑ ตลาดหรือแผงค้าขายที่กีดขวางทางเท้า กีดขวางการจราจรและบดบังทัศนียภาพ ได้รับการจัดระเบียบได้ครบทุกกลุ่มเขต

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง