รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

18. (4) ความสำเร็จในการจัดทำแผนพัฒนาเส้นทางสัญจรทางน้ำสายใหม่ : 1700-0833

ค่าเป้าหมาย เส้นทาง : 1

ผลงานที่ทำได้ เส้นทาง : 90

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 85

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(เส้นทาง)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
10.00
100
100 / 100
2
60.00
100
100 / 100
3
90.00
85
85 / 100
4
90.00
85
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการสำรวจเส้นทางสัญจรทางน้ำ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ลงพื้นที่สำรวจและจัดทำข้อมูลที่เกี่ยวข้อง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ศึกษาความเป็นไปได้ของเส้นทางการเดินเรือในคลองประเวศบุรีรมย์ จัดทำแผนที่การเดินเรือและกำหนดจุดก่อสร้างท่าเทียบเรือที่เหมาะสม -อยู่ระหว่างนำเสนอรายงานการศึกษาต่อผู้บริหาร กทม.

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

การพัฒนาเส้นทางสัญจรทางน้ำเพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับการเดินเรือในลำคลองของกรุงเทพมหานคร ในเส้นทางคลองบางกอกใหญ่ – เจ้าพระยา โดยจัดทำแผนพัฒนาเส้นทางสัญจรทางน้ำ ประกอบด้วย 1. มีกระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมของหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมเจ้าท่า กรมธนารักษ์ เป็นต้น 2. มีการสำรวจแนวเส้นทางการพัฒนาการเดินเรือ ท่าเทียบเรือ ความปลอดภัยในเส้นทางเดินเรือ สภาพทางกายภาพบริเวณท่าเทียบเรือ และนำมาจัดทำแผนการดำเนินการแบบบูรณาการ 3. มีการสำรวจเส้นทางเข้า-ออก การเข้าถึงท่าเทียบเรือในเส้นทางการเดินเรือ เพื่อเชื่อมต่อการเดินทางระหว่างท่าเรือกับชุมชนหรือถนนสายหลัก ร่วมกับสำนักงานเขตพื้นที่นั้นๆ หรือประสานงานกับสำนักงานเขตพื้นที่ในการพัฒนาด้านกายภาพให้เหมาะสม สะดวก และปลอดภัยสำหรับประชาชนที่จะใช้บริการเรือโดยสาร

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

วิธีการคำนวณ : วัดจำนวนเส้นทางที่ได้รับการสำรวจและจัดทำแผนพัฒนาเส้นทางสัญจรทางน้ำ ซึ่งมีองค์ประกอบของแผนพัฒนาครบถ้วนตามนิยามที่กำหนด เกณฑ์การให้คะแนน :- - ส่วนที่ 1 มีกระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมของหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง คิดเป็นร้อยละ 50 ของค่าเป้าหมาย - มีการดำเนินงานส่วนที่ 1 และส่วนที่ 2 มีการสำรวจแนวเส้นทางการพัฒนาการเดินเรือ ท่าเทียบเรือ ความปลอดภัยในเส้นทางเดินเรือ สภาพทางกายภาพบริเวณท่าเทียบเรือ และนำมาจัดทำแผนการดำเนินการแบบบูรณาการ คิดเป็นร้อยละ 75 ของค่าเป้าหมาย - มีการดำเนินงานส่วนที่ 1 ส่วนที่ 2 และ ส่วนที่ 3 มีการสำรวจเส้นทางเข้า-ออก การเข้าถึงท่าเทียบเรือในเส้นทางการเดินเรือ เพื่อเชื่อมต่อการเดินทางระหว่างท่าเรือกับชุมชนหรือถนนสายหลัก ร่วมกับสำนักงานเขตพื้นที่นั้นๆ หรือประสานงานกับสำนักงานเขตพื้นที่ในการพัฒนาด้านกายภาพให้เหมาะสม สะดวก และปลอดภัยสำหรับประชาชนที่จะใช้บริการเรือ คิดเป็นร้อยละ 100 ของค่าเป้าหมาย

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

ตามที่ส่วนราชการเห็นเหมาะสม

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
:๒.๓ - ระบบขนส่งมวลชนทั่วถึง สะดวกประหยัด การจราจรคล่องตัวและมีทางเลือก
:๒.๓.๑ ประชาชนเข้าถึงระบบขนส่งสาธารณะ มีทางเลือกในการเดินทางไม่ต้องพึ่งพารถส่วนบุคคล%
:๒.๓.๑.๓ ส่งเสริมการเดินทางทางน้ำ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง