รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

20. ร้อยละของจำนวนศาลาที่พักที่ดำเนินการเพื่อรองรับความต้องการของประชาชน : 1700-0863

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 50

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
50.00
100
100 / 100
2
60.00
100
100 / 100
3
60.00
0
0 / 0
4
100.00
0
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

-โครงการก่อสร้างศาลาที่พักผู้โดยสาร ถนนประชาสำราญ จำนวน 10 หลัง ได้ตัวผู้รับจ้างแล้ว - โครงการพัฒนาศาลารูปแบบเต็นท์ชั่วคราวเป็นศาลาขนาดเล็กที่มีมาตรฐานจำนวน 95 หลัง อยู่ระหว่างเสนอราคา

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-โครงการก่อสร้างศาลาที่พักผู้โดยสาร ถนนประชาสำราญ จำนวน 10 หลัง อยู่ระหว่างประสานสำนักงบประมาณ แก้ไขรายละเอียดข้อบัญญัติงบประมาณ - โครงการพัฒนาศาลารูปแบบเต็นท์ชั่วคราวเป็นศาลาขนาดเล็กที่มีมาตรฐานจำนวน 95 หลัง เริ่มกระบวนการจัดทำแบบรูปรายการ,ราคากลางใหม่ เนื่องจากในครั้งแรก ไม่มีผู้เสนอราคา

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-โครงการก่อสร้างศาลาที่พักผู้โดยสาร ถนนประชาสำราญ จำนวน 10 หลัง อยู่ระหว่างประสานสำนักงบประมาณ ขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดงบประมาณรายจ่าย -โครงการพัฒนาศาลารูปแบบเต็นท์ชั่วคราวเป็นศาลาขนาดเล็กที่มีมาตรฐานจำนวน 95 หลัง อยู่ระหว่างการจัดทำราคากลางใหม่ และเพื่อประกาศหาตัวผู้รับจ้างอีกครั้ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-โครงการก่อสร้างสาลาที่พักผู้โดยสาร ถนนประชาสำราญ อยู่ระหว่างดำเนินการแก้ไขข้อบัญญัติ - โครงการพัฒนาศาลารูปแบบเต๊นท์ชั่วคราวเป็นที่พักผู้โดยสารขนาดเล็กที่มีมาตราฐาน อยู่ระหว่างเห็นชอบราคากลาง

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

ศาลาที่พัก หมายถึง ศาลาหรือสิ่งปลูกสร้างใดที่อยู่ในความรับผิดชอบของหน่วยงาน ซึ่งจัดทำขึ้นเพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชน ในการใช้บริการรถโดยสารสาธารณะ

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

นับจุด/จำนวนศาลาที่พักผู้โดยสารรถประจำทางที่ดำเนินการ เปรียบเทียบกับจุด/จำนวนศาลาที่พักที่ประชาชนร้องขอตามเรื่องร้องเรียน เมื่อปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 คำนวณเป็นค่าร้อยละ

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

ตามที่ส่วนราชการเห็นเหมาะสม

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
:๒.๓ - ระบบขนส่งมวลชนทั่วถึง สะดวกประหยัด การจราจรคล่องตัวและมีทางเลือก
:๒.๓.๑ ประชาชนเข้าถึงระบบขนส่งสาธารณะ มีทางเลือกในการเดินทางไม่ต้องพึ่งพารถส่วนบุคคล%
:๒.๓.๑.๑ ขยายระบบขนส่งมวลชนให้ครอบคลุมพื้นที

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง