ค่าเป้าหมาย ระดับ : 5
ผลงานที่ทำได้ ระดับ : 55
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
อยู่ระหว่างให้ที่ปรึกษาจัดทำแผนพัฒนาจุดเชื่อมต่อการเดินทางบริเวณย่านบางหว้า
อยู่ระหว่างให้ที่ปรึกษาลงพื้นที่สำรวจ
อยู่ระหว่างให้ที่ปรึกษาจัดทำแผนพัฒนาจุดเชื่อมต่อการเดินทางบริเวณย่านบางหว้า
จัดทำแผนแล้วเสร็จ อยู่ระหว่างกลุ่มงานของบประมาณ
จุดเชื่อมต่อการเดินทาง หมายถึง บริเวณซึ่งประชาชนสามารถเปลี่ยนถ่ายการเดินทางได้มากกว่า 1 ระบบ โดยมีโครงข่ายคมนาคมขนส่ง ทางบก ทางราง หรือทางน้ำ ในบริเวณใกล้เคียง และมีการอำนวยความสะดวกให้สามารถเชื่อมโยงการเดินทางถึงกันได้ มีเป้าหมายในการพัฒนาจุดเชื่อมต่อการเดินทาง บริเวณย่านบางหว้า โดยเชื่อมต่อการเดินทางระบบราง เส้นทาง BTS และ MRT สถานีบางหว้า กับการเดินทางระบบเรือ เส้นทางคลองภาษีเจริญ โดยการดำเนินการพัฒนาจุดเชื่อมต่อการเดินทาง ต้องมีองค์ประกอบดังนี้ 1. สำนักการจรารและขนส่งต้องการดำเนินการจัดทำแผนพัฒนาจุดเชื่อมต่อการเดินทาง โดยรายละเอียดชองแผนฯต้องประกอบภารกิจของสำนักการจราจรจรและขนส่งที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา โดยผู้อำนวยการสำนักการจราจรและขนส่ง เป็นผู้อนุมัติแผนฯ ดังกล่าว 2. สำนักการจรารและขนส่งมีกระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมของหน่วยงานภายนอกกรุงเทพมหานคร เช่น ขสมก. MRT เป็นต้น 3. สำนักการจรารและขนส่งมีกระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมของสำนักงานเขตในพื้นที่ตั้งของสถานี ดังนี้ 3.1 การประชาสัมพันธ์ 3.2 การปรับปรุงสภาพแวดล้อม ถนน ตรอก ซอย ทางเท้า เพื่อเชื่อมต่อมายังจุดเชื่อมต่อการเดินทาง 4. สำนักการจรารและขนส่ง และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สามารถดำเนินการปรับปรุงสภาพแวดล้อมทางกายภาพบริเวณโดยรอบ จุดเชื่อมต่อการเดินทาง ให้เหมาะสม สะดวก และปลอดภัยสำหรับประชาชนที่จะใช้บริการ และเป็นไปตามหลัก Universal Design และ/หรือ สามารถนำโครงการเข้าสู่กระบวนการจัดสรรงบประมาณประจำปี พ.ศ. 2565 ได้ 5. มีการเก็บสถิติจำนวนผู้ใช้บริการ และการสำรวจความพึงพอใจเป็นประจำทุกเดือน
วัดร้อยละความสำเร็จจากการพัฒนาจุดเชื่อมต่อการเดินทางตามองค์ประกอบครบถ้วนตามนิยามที่กำหนด
1. ตรวจสอบรายละเอียดตามแผนพัฒนาจุดเชื่อมต่อการเดินทาง 2. รายงานการประชุม 3. รูปกิจกรรม 4. ข่าวประชาสัมพันธ์ 5. รายงานผลการดำเนินงานสถิติจำนวนผู้ใช้บริการ และการสำรวจความพึงพอใจ ลงในระบบบันทึกฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัด 6. เอกสารการขอจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ.2565
:ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City |
:๒.๓ - ระบบขนส่งมวลชนทั่วถึง สะดวกประหยัด การจราจรคล่องตัวและมีทางเลือก |
:๒.๓.๑ ประชาชนเข้าถึงระบบขนส่งสาธารณะ มีทางเลือกในการเดินทางไม่ต้องพึ่งพารถส่วนบุคคล% |
:๒.๓.๑.๑ ขยายระบบขนส่งมวลชนให้ครอบคลุมพื้นที |