รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

14.(3)ระดับความสำเร็จในการพัฒนาเส้นทางสัญจรทางน้ำเส้นทางคลองผดุงกรุงเกษม : 1700-0875

ค่าเป้าหมาย ระดับ : 5

ผลงานที่ทำได้ ระดับ : 35

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 95

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ระดับ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
15.00
100
100 / 100
2
20.00
90
90 / 100
3
30.00
95
95 / 100
4
35.00
95
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างให้ที่ปรึกษาจัดทำแผนพัฒนาเส้นทางสัญจรทางน้ำคลองผดงุกรุงเกษม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

อยู่ระหว่างให้ที่ปรึกษาลงพื้นที่สำรวจและจัดทำแผนพัฒนาเส้นทางสัญจรทางน้ำคลองผดงุกรุงเกษ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

อยู่ระหว่างให้ที่ปรึกษาจัดทำแผนพัฒนาเส้นทางสัญจรทางน้ำคลองผดงุกรุงเกษม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

จัดทำแผนแล้วเสร็จ อยู่ระหว่าง ผอ.สจส. เห็นชอบแผน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

การพัฒนาเส้นทางสัญจรทางน้ำ หมายถึง การที่กรุงเทพมหานครโดยสำนักการจรารและขนส่ง จัดให้มีการเดินเรือเพื่อบริการประชาชนบริเวณคลองสายหลักในพื้นที่กรุงเทพมหานคร รวมถึงการพัฒนา/ปรับปรุงสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ และการประชาสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมการสัญจรทางน้ำในเส้นทางพื้นที่เป้าหมาย โดยการดำเนินการพัฒนาเส้นทางสัญจรทางน้ำ ต้องมีองค์ประกอบดังนี้ 1. สำนักการจรารและขนส่งต้องการดำเนินการจัดทำแผนพัฒนาเส้นทางสัญจรทางน้ำ เส้นทางคลองผดุงกรุงเกษม โดยรายละเอียดชองแผนฯต้องประกอบภารกิจสำนักการจราจรจรและขนส่งที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเส้นทางสัญจรทางน้ำ เช่น การก่อสร้าง/ปรับปรุงท่าเรือ การจัดหาเรือโดยสาร การบริหารจัดการเดินเรือ ฯลฯ โดยผู้อำนวยการสำนักการจราจรและขนส่ง เป็นผู้อนุมัติแผนฯดังกล่าว 2. สำนักการจรารและขนส่งมีกระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมของหน่วยงาน ภายนอกกรุงเทพมหานคร หน่วยงานภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ประชาชน ที่เกี่ยวข้อง ในการปรับปรุงท่าเทียบเรือ การจัดการสภาพแวดล้อมทางกายภาพของพื้นที่โดยรอบ สนับสนุนการเชื่อมต่อการเดินทาง การรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย การรักษาความปลอดภัย เป็นต้น 3. สำนักการจรารและขนส่งมีกระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมของสำนักงานเขตในพื้นที่เส้นทางสัญจรทางน้ำ ดังนี้ 3.1 การประชาสัมพันธ์ 3.2 การปรับปรุงสภาพแวดล้อม ถนน ตรอก ซอย ทางเท้า เพื่อเชื่อมต่อมายังเส้นทางเดินเรือ 3.3 การกำหนดมาตรการเฝ้าระวัง รักษาความปลอดภัย บริเวณท่าเรือและเส้นทางเชื่อมต่อมายังท่าเรือ 4. สำนักการจรารและขนส่ง และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สามารถดำเนินการปรับปรุงสภาพแวดล้อมทางกายภาพบริเวณท่าเทียบเรือ ให้เหมาะสม สะดวก และปลอดภัยสำหรับประชาชนที่จะใช้บริการเรือโดยสาร และ/หรือ สามารถนำโครงการเข้าสู่กระบวนการจัดสรรงบประมาณประจำปี พ.ศ. 2565 ได้ 5. มีการเก็บสถิติจำนวนผู้ใช้บริการ และการสำรวจความพึงพอใจเป็นประจำทุกเดือน

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

วัดความสำเร็จในการพัฒนาเส้นทางสัญจรทางน้ำ ตามองค์ประกอบครบถ้วนตามนิยามที่กำหนด

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

1. ตรวจสอบรายละเอียกจากแผนพัฒนาเส้นทางสัญจรทางน้ำ 2. รายงานการประชุม 3. รูปกิจกรรม 4. ข่าวประชาสัมพันธ์ 5. รายงานผลการดำเนินงานสถิติจำนวนผู้ใช้บริการ และการสำรวจความพึงพอใจ ลงในระบบบันทึกฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัด 6. เอกสารการขอจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ.2565

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
:๒.๓ - ระบบขนส่งมวลชนทั่วถึง สะดวกประหยัด การจราจรคล่องตัวและมีทางเลือก
:๒.๓.๑ ประชาชนเข้าถึงระบบขนส่งสาธารณะ มีทางเลือกในการเดินทางไม่ต้องพึ่งพารถส่วนบุคคล%
:๒.๓.๑.๓ ส่งเสริมการเดินทางทางน้ำ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง