รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

1.(1)ระดับความสำเร็จของการจัดทำแผนการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อแก้ไขและลดพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรมในกรุงเทพมหานคร : 1700-0876

ค่าเป้าหมาย ระดับ : 5

ผลงานที่ทำได้ ระดับ : 80

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 95

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ระดับ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00
100
100 / 100
2
50.00
90
90 / 100
3
70.00
95
95 / 100
4
80.00
95
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างประสานงานสำนักเทศกิจ เพื่อให้ส่งข้อมูลตามที่ สยป. กำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

กำหนดรายละเอียดข้อมูลตามที่ สยป. กำหนด เพื่อนำมาใช้กับการทำงานต่อไป

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

มีการปรับปรุงการเก็บข้อมูล ของเทศกิจ และ ตำรวจ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

อยู่ระหว่างปรับปรุงการเก็บข้อมูล ของเทศกิจ และ ตำรวจ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

พื้นที่เสี่ยงอาชญากรรมในกรุงเทพมหานคร หมายถึง พื้นที่เสี่ยงอาชญากรรมตามบัญชีพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรม ประจำปี พ.ศ. 2563 ซึ่งถูกรวบรวมโดยสำนักเทศกิจ

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

องค์ประกอบที่ 1 (ร้อยละ 10) 1. มีหนังสือประสานเพื่อขอบัญชีพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรม ซึ่งถูกสำรวจในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จากสำนักเทศกิจ ในรูปแบบ shape file ที่ระบุพิกัด GIS ทั้งนี้เพื่อขอพิกัดพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรมและจัดทำแผนที่พื้นที่เสี่ยงอาชญากรรมในรูปแบบ GIS ที่มีการพิกัดจุดเสี่ยงอาชญากรรมทั้งหมดของสำนักเทศกิจและจุดที่มีการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ของสำนักการจราจรและขนส่งเข้าด้วยกัน และจัดทำเป็นรายงานสรุปพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรมตามบัญชีพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรม ประจำปี พ.ศ. 2563 ซึ่งถูกรวบรวมโดยสำนักเทศกิจ ที่กำหนดวิธีการดำเนินการแก้ไขโดยการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) (จุดเสี่ยง ฯ ที่ยังไม่ได้ติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) (กรณีที่ไม่ได้ข้อมูล GIS ให้ประสานขอข้อมูลบัญชีพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรมซึ่งถูกสำรวจในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จากสำนักเทศกิจในรูปแบบอื่นต่อไป เพื่อจัดทำเป็นรายงานสรุปพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรมตามบัญชีพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรม ประจำปี พ.ศ. 2563 ซึ่งถูกรวบรวมโดยสำนักเทศกิจ ที่กำหนดวิธีการดำเนินการแก้ไขโดยการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) (จุดเสี่ยง ฯ ที่ยังไม่ได้ติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)) องค์ประกอบที่ 2 (ร้อยละ 40) 1. จัดทำแผนงานการสำรวจและออกสำรวจพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรม ซึ่งบัญชีพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรม ประจำปี พ.ศ. 2563 ซึ่งถูกรวบรวมโดยสำนักเทศกิจ กำหนดวิธีการดำเนินการแก้ไขโดยการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อออกแบบการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่ดังกล่าว ในกรณีที่พื้นที่ใดไม่มีความชัดเจนทำให้ไม่สามารถออกแบบการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้ สำนักการจราจรและขนส่งอาจทำหนังสือเพื่อประสานขอความร่วมมือจากเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องจากสำนักเทศกิจหรือสำนักงานเขตร่วมการสำรวจพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรม เพื่อการออกแบบการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่ดังกล่าวต่อไป ร้อยละความสำเร็จ = A x 40 / B A = พื้นที่เสี่ยงอาชญากรรม ซึ่งบัญชีพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรม ประจำปี พ.ศ. 2563 ซึ่งถูกรวบรวมโดยสำนักเทศกิจ กำหนดวิธีการดำเนินการแก้ไขโดยการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่ได้มีการออกสำรวจเพื่อออกแบบการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่ดังกล่าว B = พื้นที่เสี่ยงอาชญากรรม ซึ่งบัญชีพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรม ประจำปี พ.ศ. 2563 ซึ่งถูกรวบรวมโดยสำนักเทศกิจ กำหนดวิธีการดำเนินการแก้ไขโดยการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) องค์ประกอบที่ 3 (ร้อยละ 40) 1. จัดทำแผนการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อแก้ไขและลดพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรมในกรุงเทพมหานคร ซึ่งอย่างน้อยต้องประกอบไปด้วย 1.1 พื้นที่เสี่ยงอาชญกรรม ที่บัญชีพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรม ประจำปี พ.ศ. 2563 ซึ่งถูกรวบรวมโดยสำนักเทศกิจกำหนดวิธีการดำเนินการแก้ไขพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรมโดยการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 1.2 รายละเอียดการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในแต่ละพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรม ที่บัญชีพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรม ประจำปี พ.ศ. 2563 ซึ่งถูกรวบรวมโดยสำนักเทศกิจกำหนดวิธีการดำเนินการแก้ไขพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรมโดยการติดตั้งกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อออกแบบการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่ดังกล่าว (ตามองค์ประกอบ 2) 1.3 ภาพสรุปการออกสำรวจพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรม ซึ่งบัญชีพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรม ประจำปี พ.ศ. 2563 ซึ่งถูกรวบรวมโดยสำนักเทศกิจ กำหนดวิธีการดำเนินการแก้ไขโดยการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อออกแบบการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่ดังกล่าว 1.4 ในกรณีที่พื้นที่ใดซึ่งบัญชีพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรม ประจำปี พ.ศ. 2563 ซึ่งถูกรวบรวมโดยสำนักเทศกิจ กำหนดวิธีการดำเนินการแก้ไขโดยการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) แต่ผลจากการลงพื้นที่สำรวจฯ พบว่าไม่สามารถติดตั้งได้ให้ระบุเหตุผลและจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดอื่นที่อยู่ใกล้ที่สุดโดยรอบ (360 องศา) เพื่อรองรับในกรณีเกิดเหตุเพื่อติดตามผู้กระทำผิด (ต้องสอดคล้องกับแผนที่พื้นที่เสี่ยงอาชญากรรมในรูปแบบ GIS ในองค์ประกอบ 1) ร้อยละความสำเร็จ = A x 40 / B A = พื้นที่เสี่ยงอาชญกรรม ที่บัญชีพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรม ประจำปี พ.ศ. 2563 ของสำนักเทศกิจ ซึ่งกำหนดวิธีการดำเนินการแก้ไขพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรมโดยการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่ระบุรายละเอียดตาม องค์ประกอบที่ 3 ข้อ 1.3 และ 1.2 หรือ 1.4 (แล้วแต่กรณี) B = พื้นที่เสี่ยงอาชญกรรม ที่บัญชีพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรม ประจำปี พ.ศ. 2563 ของสำนักเทศกิจ ซึ่งกำหนดวิธีการดำเนินการแก้ไขพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรมโดยการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) องค์ประกอบที่ 4 (ร้อยละ 10) 1. ร่างโครงการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรมตามแผนการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อแก้ไขและลดพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรมในกรุงเทพมหานคร ร้อยละความสำเร็จ = A x 10 / B A = พื้นที่เสี่ยงอาชญากรรม ซึ่งบัญชีพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรม ประจำปี พ.ศ. 2563 ซึ่งถูกรวบรวมโดยสำนักเทศกิจ กำหนดวิธีการดำเนินการแก้ไขโดยการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่ได้มีการร่างโครงการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรมตามแผนการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อแก้ไขและลดพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรมในกรุงเทพมหานคร B = พื้นที่เสี่ยงอาชญากรรม ซึ่งบัญชีพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรม ประจำปี พ.ศ. 2563 ซึ่งถูกรวบรวมโดยสำนักเทศกิจ กำหนดวิธีการดำเนินการแก้ไขโดยการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) องค์ประกอบที่ 5 (ร้อยละ 10) 1. ผลักดันโครงการการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรมตามที่ถูกกำหนดตามแผนการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อแก้ไขและลดพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรมในกรุงเทพมหานครเพื่อจัดทำคำของบประมาณ

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

1. หนังสือประสานเพื่อขอบัญชีพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรม ซึ่งถูกสำรวจในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จากสำนักเทศกิจ 2. แผนที่พื้นที่เสี่ยงอาชญากรรมในรูปแบบ GIS ที่มีการพิกัดจุดเสี่ยงอาชญากรรมทั้งหมดของสำนักเทศกิจและจุดที่มีการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ของสำนักการจราจรและขนส่งเข้าด้วยกัน 3. แผนการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อแก้ไขและลดพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรมในกรุงเทพมหานคร ซึ่งอย่างน้อยมีรายละเอียดตามที่กำหนด 4. ร่างโครงการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรมตามแผนการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อแก้ไขและลดพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรมในกรุงเทพมหานคร 5. หนังสือเพื่อประสานขอความร่วมมือจากเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องจากสำนักเทศกิจหรือสำนักงานเขตร่วมการสำรวจพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรม เพื่อการออกแบบการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) (ถ้ามีกรณีที่พื้นที่เสี่ยงไม่มีความชัดเจนที่ระบุไว้ใน องค์ประกอบ 2)

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด
:๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน%
:๑.๒.๑.๑ เสริมสร้างความปลอดภัยเพื่อลดความล่อแหลมของสภาพแวดล้อมต่อการก่อ อาชญากรรม

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง