รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

7.(5)ระดับความสำเร็จของคลองในพื้นที่กรุงเทพมหานครได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่ : 1700-0882

ค่าเป้าหมาย ระดับ : 5

ผลงานที่ทำได้ ระดับ : 80

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ระดับ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
10.00
100
100 / 100
2
20.00
95
95 / 100
3
40.00
100
100 / 100
4
80.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

- ขั้นตอนรายงานแบบสรุปผลการสำรวจพื้นที่คลอง - อยู่ระหว่างดำเนินการประสานเขตที่เกี่ยวข้องเพื่อกำหนดบริเวณแสดงข้อมูลด้านอัตลักษณ์ของพื้นที่ข้อมูลคลองในพื้นที่

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-อยู่ระหว่างดำเนินการประสานเขตที่เกี่ยวข้องเพื่อกำหนดบริเวณแสดงข้อมูลด้านอัตลักษณ์ของพื้นที่ข้อมูลคลองในพื้นที่ -อยู่ระหว่างกำหนดจุดติดตั้งป้ายแนะนำเส้นทาง ตามจุดเชคอินของสำนักงานเขตต่างๆ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-อยู่ระหว่างดำเนินการประสานเขตที่เกี่ยวข้องเพื่อกำหนดบริเวณแสดงข้อมูลด้านอัตลักษณ์ของพื้นที่ข้อมูลคลองในพื้นที่ -อยู่ระหว่างกำหนดจุดติดตั้งป้ายแนะนำเส้นทาง ตามจุดเชคอินของสำนักงานเขตต่างๆ -ผลิตป้ายคลอง ตามที่สำนักงานเขตแจ้ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการจัดทำแผนปรับปรุงท่าเรือ โครงการติดตั้งกล้องในพื้นที่ที่เขตจัดให้เป็นจุดเช็คอิน จัดทำป้ายแนะนำพื้นที่ตามที่สำนักงานเขตมีหนังสือร้องขอ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

การปรับปรุงภูมิทัศน์คลอง หมายถึง การปรับปรุงภูมิทัศน์ตลอดแนวคลองให้มีความสวยงาม สะอาด และปลอดภัย สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม เอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่ วิถีชีวิต วัฒนธรรมของชุมชน ทั้งภูมิทัศน์ที่เป็นแหล่งธรรมชาติ และสถานที่ที่ถูกสร้างขึ้น ซึ่งตัวชี้วัดดังกล่าวเป็นตัวชี้วัดร่วมระหว่างหน่วยงาน ทั้งระดับสำนักและสำนักงานเขต อัตลักษณ์ หมายถึง ผลรวมของลักษณะเฉพาะของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่โดดเด่น ซึ่งทำให้สิ่งนั้นเป็นสิ่งที่รู้จักหรือจำได้ คลอง หมายถึง คลองในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นคลองเป้าหมายที่กําหนด ตามเอกสารแนบ 1

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

การดำเนินการของ สจส. ประกอบด้วย จัดทำแผนและพัฒนาพื้นที่ ตรวจสอบและซ่อมแซมท่า เทียบเรือและติดตั้งกล้องวงจรปิด CCTV โดยจัดทำรายละเอียดโครงการ /กิจกรรมในพื้นที่เป้าหมาย เพื่อติดตั้ง กล้องวงจรปิด CCTV ติดตั้งป้ายบอกทาง ตรวจสอบและ ซ่อมแซมท่าเทียบเรือให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานหรือ สภาพที่ดีขึ้น สัดส่วนความสำเร็จในการบูรณาการการดำเนินการ ประกอบด้วย 1. ความสำเร็จตามภารกิจเฉพาะหน่วยงาน หมายถึง ความสำเร็จซึ่งเป็นไปตามแผนฯ ที่หน่วยงานนำเสนอ คิดเป็นร้อยละ 60 2.ความสำเร็จในภาพรวมหมายถึง ความสำเร็จซึ่งเกิดขึ้นจากการดำเนินงานตามข้อ 1 . ของทุกหน่วยงาน และส่งผลให้สภาพของคลอง มีความสวยงาม สะอาด และปลอดภัย สอดคล้องกับ สภาพแวดล้อมและอัตลักษณ์ของแต่ละพื้นที่ โดยพิจารณาจากสภาพภูมิทัศน์ของคลองซึ่งเป็นไป ตามที่กำหนด คิดเป็นร้อยละ 40 ทั้งนี้ ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะต้องดำเนินการกับคลองเป้าหมาย ตามเอกสารแนบ 1 โดยจัดทำแผนการดำเนินงานตามภารกิจที่รับผิดชอบ ให้แล้วเสร็จภายในเดือนธันวาคม 2563 และรายงานผลผ่านระบบการบริหารจัดการ แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร (BMA digital plans) วิธีคำนวณ นับจากผลรวมของความสำเร็จการดำเนินงาน ตามภารกิจเฉพาะหน่วยงาน และความสำเร็จของการ ดำเนินงานในภาพรวม

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

วิธีเก็บข้อมูล /หลักฐาน 1. เอกสารประกอบการดำเนินการ 2. ระบบการบริหารจัดการแผนพัฒนากรุงเทพมหาน (BMA digital plans) หลักฐาน 1. แผนการปรับปรุงภูมิทัศน์คลองของหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง 2. รายละเอียดโครงการ /กิจกรรม 3. ภาพถ่ายกิจกรรมก่อน - หลัง ดําเนินการ ฯลฯ

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
:๒.๑ - ภูมิทัศน์สวยงาม
:๒.๑.๑ กรุงเทพมหานครจัดระเบียบเมือง ปรับปรุงทัศนียภาพของเมืองให้แลดูสะอาด ไม่มีสายไฟฟ้า%
:๒.๑.๑.๓ ทัศนียภาพคูคลองแลดูสะอาด

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง