ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 2
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 70
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
1. เดือนตุลาคมให้บริการจักรยานสาธารณะกับประชาชน ยืมจักรยาน 3,755 ครั้ง คืนจักรยาน 3,727 ครั้ง 2.เดือนพฤศจิกายน ให้บริาการจักรยานสาธารณะกับประชาชน (รายงานการยืม - คืนจักรยาน ยืม 3,995 ครั้ง คืน 4,120 ครั้ง)
1. เดือนธันวาคม ให้บริการจักรยานสาธารณะกับกับประชาชน (รายงานการยืม - คืนจักรยาน ยืม 2,406 ครั้ง คืน 2,570 ครั้ง) 2. เดือนมกราคม ให้บริการจักรยานสาธารณะกับกับประชาชน (รายงานการยืม - คืนจักรยาน ยืม 1,803 ครั้ง คืน 1,830 ครั้ง) 3. เดือนกุมภาพันธ์ ให้บริการจักรยานสาธารณะกับกับประชาชน (รายงานการยืม - คืนจักรยาน ยืม 1,915 ครั้ง คืน 1,968 ครั้ง)
1.เดือนมีนาคม การบริหารจัดการ ดูแล บำรุงรักษา โครงการรถจักรยานสาธารณะกรุงเทพมหานคร มีระยะเวลาดำเนินการต่อ สัญญาอีก 3 ปี เริ่มตั้งแต่วันที่ 2 กันยายน 2563 สัญญาสิ้นสุดวันที่ 1 กันยายน 2565 การดำเนินการเป็นไปตามสัญญา จำนวนการยืมจักรยาน 2308 ครั้ง และจำนวนการคืนจักรยาน 2329 ครั้ง 2.เดือนเมษายน จำนวนการยืมจักรยาน 1488 ครั้ง และจำนวนการคืนจักรยาน 1471 ครั้ง 3.เดือนพฤษภาคม จำนวนการยืมจักรยาน 1103 ครั้ง และจำนวนการคืนจักรยาน 1105 ครั้ง
- บริษัท กรุงเทพธนาคม มีหนังสือ ที่ กธ.01/ร858/64 ลงวันที่ 10 มิถุนายน 2564 เรื่อง ขอพิจารณาเยียวยาผลกระทบจากสถานการณ์วิกฤตรุนแรงจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไรรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 - มีหนังสือ ที่ กว.450/64 ลงวันที่ 2 กันยายน 2564 เชิญประชุมพิจารณาเยียวยาผลกระทบฯ ในวันที่ 10 กันยายน 2564 - สำนักการโยธา มีหนังสือขอให้ย้ายจุดจอดรถจักรยานบริเวณถนนพระรามที่ 1 เนื่องจากมีการปรับปรุงภูมิทัศน์ตั้งแต่สี่แยกราชประสงค์ถึงสี่แยกปทุมวัน เข้าร่วมการประชุมและลงพื้นที่ สรุปย้ายป้ายประชาสัมพันธ์ จำนวน 10 ป้าย
ผู้สัญจรด้วยจักรยาน หมายถึง ผู้ใช้จักรยานสาธารณะกรุงเทพมหานคร (ปันปัน) และผู้ใช้จักรยานในชุมชนในพื้นที่ที่ดำเนินโครงการ เพื่อการเดินทางและ/หรือออกกำลังกาย เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา
เปรียบเทียบสถิติผู้ใช้จักรยานผ่านโครงการปันปัน และผู้ใช้จักรยานในชุมชนที่ดำเนินการ เพื่อการเดินทางและ/หรือออกกำลังกาย เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา ในช่วงระยะเวลาก่อนและหลังดำเนินโครงการ
สถิติเปรียบเทียบผู้ใช้จักรยานปีที่ผ่านมาและปีปัจจุบัน จากโครงการรถจักรยานสาธารณะกรุงเทพมหานคร
:ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City |
:๒.๓ - ระบบขนส่งมวลชนทั่วถึง สะดวกประหยัด การจราจรคล่องตัวและมีทางเลือก |
:๒.๓.๑ ประชาชนเข้าถึงระบบขนส่งสาธารณะ มีทางเลือกในการเดินทางไม่ต้องพึ่งพารถส่วนบุคคล% |
:๒.๓.๑.๒ เพิ่มเส้นทางจักรยานให้มีความสะดวกและทั่วถึง |