รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

4.2 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life) (ร้อยละ 4) : 1900-0782

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
20.00
100
100 / 100
2
50.00
100
100 / 100
3
70.00
0
0 / 0
4
100.00
0
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

กิจกรรมร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานของหน่วยงาน อยู่ระหว่างการรายงานผลการดำเนินงานพร้อมจัดส่งหลักฐานการดำเนินงานตามขั้นตอนที่ 1 ผลการดำเนินการคิดเป็นร้อยละ 20

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ขณะนี้ได้ดำเนินกิจกรรมเพื่อจัดการความเสี่ยงของหน่วยงาน จำนวน 3 งาน 1.งานลดความเสี่ยงเลี่ยงอันตรายจากสัตว์มีพิษของเจ้าหน้าที่ป้องกันฯ กปก.3 2.งานใช้งานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานสำนักงานเลขานุการ 3.งานเข้าระงับเหตุช่วยเหลือผู้ประสบภัยของเจ้าหน้าที่ป้องกันฯ กปก.1 ซึ่งเป็นงานต่อยอดพัฒนาจากปี 2562 ผลการดำเนินการคิดเป็นร้อยละ 50

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- ขณะนี้ได้ดำเนินกิจกรรมเพื่อจัดการความเสี่ยงของหน่วยงาน ผลการดำเนินการ คิดเป็นร้อยละ 70

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-รายงานการดำเนินการกิจกรรมร้อยละความสำเร็จ ของการดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมใน การทำงานของหน่วยงาน ให้กับสำนักอนามัยเรียบร้อยแล้ว ผลการดำเนินการ คิดเป็นร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

นิยาม ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน หมายถึง การกระทำหรือสภาพการทำงานที่ปลอดภัยจากเหตุอันจะทำให้เกิดการประสบอันตราย ต่อชีวิต ร่างกาย จิตใจ หรือสุขภาพอนามัย อันเนื่องจากการทำงานหรือเกี่ยวกับการทำงานจึงเป็นแนวทางหนึ่งที่จะเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีในการทำงานให้กับบุคลากรได้ตาม มาตรา 3 วรรค 2 แห่งพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2554 ซึ่งกำหนดให้ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น ที่กำหนดไว้ในกฎกระทรวงจัดให้มีมาตรฐานในการบริหาร และจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานของหน่วยงานของตน ไม่ต่ำกว่ามาตรฐานความปลอดภัยฯ

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

วิธีการคำนวณ ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการด้านความปลอดภัยคะแนน +/- ร้อยละ10 ต่อ 1 คะแนน (โดยต้องแสดงหลักฐานประกอบการดำเนินการเพื่อประเมินผลให้สำนักอนามัยภายในวันที่ 16 สิงหาคม 2562)

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

- หน่วยงานมีการดำเนินโครงการ/กิจกรรม เพื่อจัดการปัญหาความเสี่ยงในการทำงานบรรลุเป้าหมายที่กำหนดครบถ้วน - หน่วยงานมีการกำกับ ติดตาม และประเมินผลความสำเร็จของการดำเนินโครงการ/กิจกรรม และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินงานฯ

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๔ - ปลอดภัยพิบัติ
:๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ%
:๑.๔.๑.๑ กรุงเทพมหานครมีความพร้อมในการรับมือกับอุทกภัยทั้งจากน้ำฝนน้ำหนุนและน้ำหลาก เสริมสร้างศักยภาพและความสามารถด้านบุคลากรและเครื่องมือ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง