รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ระดับความสำเร็จในการจัด ทำแผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องสำหรับการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต (Business Continuity Plan – BCP) : 1900-6505

ค่าเป้าหมาย ระดับ : 5

ผลงานที่ทำได้ ระดับ : 5

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ระดับ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
10.00
75
75 / 100
2
30.00
100
100 / 50
3
50.00
0
0 / 0
4
5.00
0
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่าง ป.กทม. ลงนามเห็นชอบ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ตามหนังสือกรุงเทพมหานคร ที่ 1802/948 ลงวันที่ 30 ธันวาคม 2563 ให้หน่วยงานของกรุงเทพมหานคร จัดทำแผนบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต (Business Continuity Plan - BCP) ของตนเองรองรับ และส่งแผนฯ ให้สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เพื่อจักได้รวบรวมและนำเรียนผู้บริหารทราบต่อไป

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

หน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร จัดส่งแผนบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต (Business Continuity Plan - BCP) ของหน่วยงานให้สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยครบทุกหน่วยงานเรียบร้อยแล้ว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. กรุงเทพมหานคร ที่ 1802/948 ลงวันที่ 30 ธันวาคม 2563 ให้หน่วยงานของกรุงเทพมหานคร จัดทำแผนบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต (Business Continuity Plan - BCP) ของตนเองรองรับ และส่งแผนฯ ให้สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 2. สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย รวบรวมแผนบริหารความพร้อมฯ ของหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร ทั้ง 77 หน่วยงาน ครบทุกหน่วยงาน 3. สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย มีหนังสือ ที่ กท 1802/917 วันที่ 5 กรกฎาคม 2564 สรุปผลการดำเนินงานในการจัดทำแผนบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต (Business Continuity Plan - BCP) ของหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร เรียนปลัดกรุงเทพมหานคร เพื่อโปรดนำเรียนผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเพื่อโปรดทราบ เรียบร้อยแล้ว ซึ่งผู้ว่าราชการกรุงเทพหานคร ได้รับทราบแล้ว เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม 2564

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

แผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องสำหรับการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต (Business Continuity Plan – BCP) หมายถึง แผนการเตรียมความพร้อมของหน่วยงานในการรับมือกับสภาวะวิกฤต ที่เกิดขึ้นในพื้นที่รับผิดชอบของหน่วยงานหรือภายในหน่วยงาน ด้วยเหตุการณ์ อัคคีภัย อุทกภัย แผ่นดินไหวและอาคารถล่ม เหตุการณ์ชุมนุมประท้วง / จลาจล หรือโรคระบาด ทั้งนี้ หน่วยงานยังคงปฏิบัติงานในภารกิจหลักที่สำคัญ หรือให้การบริการประชาชนได้อย่างต่อเนื่อง ไม่หยุดชะงัก หน่วยงาน หมายถึง หน่วยงานของกรุงเทพมหานคร ทั้งสำนักและสำนักงานเขต เกณฑ์ระดับความสำเร็จในการจัดทำแผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องสำหรับ การบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต (Business Continuity Plan – BCP) แบ่งเป็น 5 ระดับ ดังนี้ ระดับที่ 1 จัดทำแผนดำเนินธุรกิจ ฯ กรุงเทพมหานคร และเสนอขอรับ ความเห็นชอบจากผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ระดับที่ 2 มีหนังสือแจ้งให้หน่วยงานกรุงเทพมหานคร จัดทำแผนระดับ หน่วยงานของตนรองรับ ให้สอดคล้องกับแผนดำเนินธุรกิจ ฯกรุงเทพมหานคร ที่ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเห็นชอบ ระดับที่ 3 จัดประชุมชี้แจง สร้างความเข้าใจแก่หน่วยงานในการจัดทำแผน ระดับที่ 4 หน่วยงานจัดส่งแผน ฯ ให้สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เพื่อประมวลผลในภาพรวม ระดับที่ 5 สรุปผลการดำเนินงานในการจัดทำแผนดำเนินธุรกิจ ฯ ของหน่วยงานกรุงเทพมหานคร เสนอผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เพื่อโปรดทราบ

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

เทียบผลการดำเนินงานกับเกณฑ์ที่กำหนด

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

1. หนังสือสั่งการจัดทำแผน ฯ โดยให้ส่งให้ สปภ. ภายในกำหนด 2. หนังสือตอบกลับของหน่วยงาน พร้อมแผนฯ 3. สรุปภาพรวม/รายงานการจัดทำแผนของหน่วยงานทั้งหมด 4. ภาพถ่ายการจัดประชุมชี้แจง

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****%
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง