รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละของจำนวนเงินที่มีการเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ไว้เบิกเหลื่อมปีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แบบไม่มีหนี้ (ไม่รวมมหาวิทยาลัยนวมินฯ และการพาณิชย์ของ กทม.) : 2000-2001

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 4

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 75

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 85

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00
95
95 / 100
2
50.00
95
95 / 100
3
75.00
85
85 / 100
4
0.00
85
100 / 50

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. ดำเนินการการเสนอขออนุมัติกิจกรรมเร่งรัดติดตามงบประมาณของหน่วยงานให้สามารถก่อหนี้ผูกพันได้ 2. รวบรวมปัญหา อุปสรรคต่าง ๆ ของหน่วยงาน เพื่อนำข้อพิจารณาประกอบการจัด กิจกรรมฯ และผลการดำเนินงาน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1.ตรวจสอบหน่วยงานที่มีผลการก่อหนี้ผูกผันงบลงทุนล่าช้า เพื่อเชิญประชุมติดตามงบประมาณ 2.เนื่องจากสถานการณ์แพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา COVID-19 จึงไม่มีการจัดประชุมติดตามงบประมาณฯ และได้ดำเนินการติดตามการใช้จ่ายงบประมาณของหน่วยงานเป็น ประจำทุกเดือนเพื่อประกอบการพิจารณางบประมาณ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

เนื่องจากสถานการณ์แพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา COVID-19 จึงไม่มีการจัดประชุมติดตามงบประมาณฯ และได้ดำเนินการติดตามการใช้งบประมาณฯ ประจำเดือนโดยรายงานให้ ป.กทม และผู้ว่ากรุงเทพมหานคร ทราบ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

1. เงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี หมายถึง งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ทุกหมวดรายจ่ายและเงินงบกลางทุกประเภทที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ที่ไม่สามารถก่อหนี้ได้ทันภายในสิ้นเดือนกันยายน 2564 และได้รับอนุมัติให้กันเงินเหลื่อมปีแบบไม่มีหนี้ผูกพัน (อำนาจ ผว.กทม. มาดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565) 2. จำนวนเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปีแบบไม่มีหนี้ผูกพัน หมายถึง งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ทุกหมวดรายจ่ายและเงินงบกลางทุกประเภทที่ไม่สามารถก่อหนี้ได้ทันภายในเดือนกันยายน 2564 และได้รับอนุมัติให้กันเงินเหลื่อมปีแบบไม่มีหนี้ผูกพัน (อำนาจ ผว.กทม. มาดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564) 3. งบประมาณหลังปรับโอน ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 หมายถึง งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ทุกหมวดรายจ่ายและเงินงบกลางทุกประเภทที่ได้รับจัดสรรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ณ สิ้นเดือนกันยายน 2565

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

จำนวนเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปีแบบไม่มีหนี้ผูกพัน x 100 ----------------------------------------------------------- งบประมาณหลังปรับโอน ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

ไม่มี

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
:๗.๔ - การคลังและงบประมาณ
:๗.๔.๑ กรุงเทพมหานครมีการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังและการงบประมาณ ที่เป็นมาตรฐานสากลแ%
:๗.๔.๑.๕ กรุงเทพมหานครมีนโยบายทางการคลังที่ชัดเจน เพื่อรองรับการขยายตัว

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง