รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

08. จำนวนห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ที่ได้รับการพัฒนาเป็นห้องสมุดมีชีวิตที่มีความทันสมัยสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน : 2300-848

ค่าเป้าหมาย ห้อง : 3

ผลงานที่ทำได้ ห้อง : 36

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ห้อง)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00
95
95 / 100
2
0.00
0
0 / 0
3
36.00
0
0 / 0
4
36.00
0
0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างจัดทำหนังสือประสานงานกับหน่วยงานร่วมจัดกิจกรรม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

เนื่องจากสถานการณ์การระบาดซ้ำโรคโควิด 19 ทำให้ไม่สามาถดำเนินการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ให้กับบุคลากรห้องสมุดเพื่อพัฒนาห้องสมุดฯ เป็นห้องสมุดมีชีวิตกับหน่วยงานร่วมจัดได้ จึงขอเปลี่ยนกิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัดนี้เป็นการจัดทำบรรณิทัศน์ออนไลน์ ซึ่งจะดำเนินการในเดือน พ.ค. 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินการพัฒนาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ให้เป็นห้องสมุดมีชีวิตผ่านการจัดทำบรรณนิทัศน์ออนไลน์ โดยได้ดำเนินการดังนี้ 1. ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ทั้ง 36 แห่ง ดำเนินการจัดทำบรรณนิทัศน์ออนไลน์ระหว่างฤษภาคม – มิถุนายน 2564 รวมจำนวน 324 ชื่อเรื่อง 2. ประชาสัมพันธ์ ทำการประชาสัมพันธ์ในเชิงรุก ทั้งการประชาสัมพันธ์ผ่านเว็บไซต์สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว (http://www.bangkok.go.th/cstd) แอปพลิเคชัน BKK Connect เว็บไซต์ของห้องสมุดทั้ง 36 แห่ง และการประชาสัมพันธ์ผ่านโซเชียล มีเดีย (Social Media) ของห้องสมุด เช่น เฟซบุ๊ก (Facebook) ไลน์ (Line) เป็นต้น

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการพัฒนาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ให้เป็นห้องสมุดมีชีวิตผ่านการจัดทำบรรณนิทัศน์ออนไลน์ โดยได้ดำเนินการดังนี้ 1. ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ทั้ง 36 แห่ง ดำเนินการจัดทำบรรณนิทัศน์ออนไลน์ระหว่าง พฤษภาคม – กันยายน จำนวน 828 ชื่อเรื่อง 2. ดำเนินการประชาสัมพันธ์บรรณานิทัศน์ออนไลน์ประจำเผ่านทางเว็บไซต์ และสื่อสังคมออนไลน์ 3 สถิติการเข้าชมบรรณนิทัศน์ออนไลน์ นับตั้งแต่เดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนสิงหาคม เป็นจำนวน 316,259 ครั้ง

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

ห้องสมุดมีชีวิต หมายถึง ห้องสมุดที่มีพื้นที่ให้บริการกิจกรรมที่หลากหลาย รวมถึงทรัพยากรสารสนเทศ และเทคโนโลยีที่ทันสมัย สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีความหลากหลาย รวมถึงมีการให้บริการทรัพยากรสารสนเทศ และเทคโนโลยีที่ทันสมัย ตามความต้องการ ความสนใจ โอกาส ความพร้อม และศักยภาพในการเรียนรู้ของแต่ละบุคคล

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

นับจำนวนห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ที่ได้รับการพัฒนาเป็นห้องสมุดมีชีวิต

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
:๓.๓ - การศึกษาสำหรับทุกคน
:๓.๓.๓ ประชาชนมีโอกาสศึกษาตลอดชีวิต%
:๓.๓.๓.๒ พัฒนากระบวนการเรียนรู้ตามอัธยาศัยที่มีประสิทธิภาพในพื้นที่กรุงเทพมหานคร

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง