รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

จำนวนภูมิปัญญาผู้สูงอายุที่ถูกนำมาถ่ายทอดประสบการณ์ ความรู้ความสามารถสู่สังคม : 2400-1056

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 80

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 0

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00
100
100 / 100
2
0.00
100
100 / 100
3
0.00
0
0 / 0
4
90.00
0
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

กำหนดการจัดกิจกรรมการเชิดชูเกียรติ "ภูมิปัญญาผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร" ในเดือน เมษายน 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

กำหนดการจัดกิจกรรมการเชิดชูเกียรติ "ภูมิปัญญาผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร" จากเดิมในเดือนเมษายน 2564 เปลี่ยนเป็นเดือนพฤษภาคม 2564 เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (Covid-19)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1.สำนักพัฒนาสังคมรวบรวมข้อมูลทำเนียบภูมิปัญญาผู้สูงอายุกรุงเทพฯ ตั้งแต่ปี 2549-2563 รวมทั้งสิ้น 75 คน 2.สำนักพัฒนาสังคมเตรียมดำเนินการประสานขอความร่วมมือสำนักงานเขตสำรวจการมีชีวิตอยู่ รวมทั้งคัดเลือกภูมิปัญญาผู้สูงอายุที่เคยได้รับการคัดเลือกจากสำนักงานเขตมาแล้วและได้รับโล่ประกาศเกียรติคุณจากสำนักพัฒนาสังคมในกิจกรรมการเชิดชูเกียรติ "ภูมิปัญญาผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร" อย่างน้อย 2 ภูมิปัญญา ที่ได้ทำงานถ่ายทอดภูมิปัญญา ประสบการณ์ ความรู้ ความสามารถสู่สังคม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการจดทะเบียนภูมิปัญญา จำนวน 50 คน - จำนวนผู้สูงอายุที่ได้ทำงานถ่ายทอดภูมิปัญญา ประสบการณ์ ความรู้ ความสามารถสู่สังคม จำนวน 45 คน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

ภูมิปัญญาผู้สูงอายุ หมายถึง องค์ความรู้ที่ได้สั่งสมรวมทั้งปฏิบัติสืบต่อกันมา และควรอนุรักษ์ ให้เป็นผลงานสร้างสรรค์ในพื้นที่เขต 50 เขต แบ่งตามประเภทสาขา 6 สาขา ได้แก่ เกษตรกรรม คหกรรม ศิลปกรรม สาธารณสุข ภาษาและวรรณกรรม การถ่ายทอดประสบการณ์ ความรู้ความสามารถสู่สังคม เช่น เป็นวิทยากร ที่ปรึกษา กรรมการในโรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร ชุมชน โรงเรียน ฯลฯ

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

(รายได้หลังจากฝึกอบรมวิชาชีพ-หักรายได้ก่อนฝึกอบรมวิชาชีพ) x 100

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

ผลการดำเนินงานจำแนกตามช่วงระยะเวลาประเมินผล

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
:๓.๒ - เมืองแห่งโอกาสทางเศรษฐกิจ
:๓.๒.๒ คนกรุงเทพฯมีโอกาสได้รับการฝึกอาชีพตามความถนัด%
:๓.๒.๒.๑ พัฒนาโรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร ศูนย์ฝึกอาชีพ และการจัดฝึกอาชีพ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง