ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 0
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
จำนวนผู้สูงอายุที่มีชื่อในทะเบียนราษฎรกรุงเทพมหานครและมีสิทธิ์ลงทะเบียนฯ จำนวน 859,932 คน จากจำนวนผู้สูงอายุที่มีชื่อในทะเบียนฯ 859,932 คน คิดเป็นร้อยละ 100
1.เบิกจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุประจำเดือน ต.ค.63 จำนวน 852,711 คน คิดเป็นเงิน 561,753,200.- บาท 2.เบิกจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุประจำเดือน พ.ย.63 จำนวน 856,729 คน คิดเป็นเงิน 564,252,900.- บาท 3.เบิกจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุประจำเดือน ธ.ค.63 จำนวน 859,932 คน คิดเป็นเงิน 566,290,400.- บาท 4.เบิกจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุประจำเดือน ม.ค.64 จำนวน 863,525 คน คิดเป็นเงิน 567,557,700.- บาท 5.เบิกจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุประจำเดือน ก.พ.64 จำนวน 865,390 คน คิดเป็นเงิน 567,992,800.- บาท 6.1.เบิกจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุประจำเดือน มี.ค.64 จำนวน 866,967 คน คิดเป็นเงิน 568,612,700.- บาท
1.อยู่ระหว่างรวบรวมรายงานผลการรับลงทะเบียนผู้มีสิทธิรับเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 2.ผลการเบิกจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ (เมษายน - มิถุนายน 2564) จำนวน 871,917 คน คิดเป็นเงิน 1,710,286,300 บาท
- ผู้สูงอายุตามทะเบียนราษฎร์ที่มีสิทธิได้รับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุในปีงบประมาณ 2565 จำนวน 50,837 คน - สำนักงานเขตแจ้งการประชาสัมพันธ์สิทธิฯ โดยส่งจดหมายทางไปรษณีย์ไปยังผู้สูงอายุตามทะเบียนราษฎร์ที่มีสิทธิฯ ครบทุกราย (50,837 คน) คิดเป็นร้อยละ 100 - สำนักพัฒนาสังคมได้มีหนังสือ ด่วนที่สุด ที่ กท 1505/2402 ลงวันที่ 30 กันยายน 2563 เรื่อง ซักซ้อมแนวทางการรับลงทะเบียนผู้มีสิทธิ รับเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 - สำนักพัฒนาสังคม ได้มีหนังสือ ที่ กท 1505/751 ลงวันที่ 24 มีนาคม 2564 เรื่อง ขอความร่วมมือรายงานผลการรับลงทะเบียนผู้มีสิทธิรับเงินเบี้ย ยังชีพผู้สูงอายุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ผู้สูงอายุ หมายถึง บุคคลซึ่งมีอายุเกินหกสิบปีบริบูรณ์ขึ้นไป และมีชื่อในทะเบียนราษฎรกรุงเทพมหานคร การจัดสรรเบี้ยยังชีพ หมายถึง การจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุรายเดือนแบบขั้นบันไดให้แก่ผู้สูงอายุที่ลงทะเบียนเพื่อขอรับเบี้ยยังชีพปีงบประมาณ 2562 (ภายในวันที่ 1-30 พฤศจิกายน 2560 และวันที่ 1 มกราคม – 30 กันยายน 2561) ที่มีสิทธิรับเบี้ยยังชีพและ ได้เข้ากระบวนการจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2561 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2562 ยกเว้นผู้สูงอายุที่รับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุอยู่ในปัจจุบัน แต่มีรายได้ที่เพียงพอ รวมถึงผู้ที่ขึ้นทะเบียนขอรับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ แจ้งความประสงค์ที่จะบริจาคเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุเข้ากองทุนผู้สูงอายุ ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2560 เห็นชอบให้ดำเนินโครงการภายใต้ชื่อ “โครงการบริจาคเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุเข้ากองทุนผู้สูงอายุ”
(จำนวนผู้สูงอายุที่มีชื่อในทะเบียนราษฎรกรุงเทพมหานครและมีสิทธิ์ลงทะเบียนขอรับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุในปี พ.ศ.2565 ได้รับทราบสิทธิ์และมาลงทะเบียนรับสิทธิ์ / จำนวนผู้สูงอายุที่มีชื่อในทะเบียนราษฎรกรุงเทพมหานครทั้งหมด) x 100
:ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All |
:๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร |
:๓.๑.๒ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสสามารถดำารงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี% |
:๓.๑.๒.๑ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสสามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี |