รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

จำนวนกลุ่มเป้าหมายของแรงงานนอกระบบในพื้นที่เขตเข้าถึงสวัสดิการทางสังคม : 2400-1065

ค่าเป้าหมาย กลุ่ม : 3

ผลงานที่ทำได้ กลุ่ม : 0

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(กลุ่ม)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00
100
100 / 100
2
0.00
100
100 / 100
3
0.00
0
0 / 0
4
100.00
0
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างการศึกษาโครงการ ในปี 2564 กำหนดกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้ค้าหาบเร่-แผงลอย และกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่กรุงเทพมหานคร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ขณะนี้อยู่ระหว่างการประสานข้อมูลกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อจัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ แต่เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ Covid-19 ทำให้การดำเนนินการมีความล่าช้า

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

บูรณาการร่วมกับสำนักงานเขต อยู่ระหว่างดำเนินการ ตามหนังสือ ที่ กท.1504/1243 ลงวันที่ 9 มิถุนายน 2564 ให้สำนักงานเขตดำเนินการ สำรวจกลุ่มเป้าหมายของแรงงานนอกระบบในพื้นที่เขตเข้าถึงสวัสดิการทางสังคมและแหล่งเงินทุนในการประกอบอาชีพ กำหนดส่งรายงานภายในวันที่ 15 กรกฎาคม 2564 หมายเหตุ : จากสถานการณ์การแพร่ระบาคของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19 )ทำให้ต้องปิดสถานศึกษาชั่วคราว เนื่องจากเหตุพิเศษ ตั้งวันที่ 24 ธันวาคม 2563 – 31 มกราคม 2564 และ ตั้งแต่วันที่ 17 เมษายน 2564 จนถึงปัจจุบัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

สำนักพัฒนาสังคมได้บูรณาการร่วมกับสำนักงานเขตโดยใช้ช่องทาง QR Code ของสำนักพัฒนาสังคมเป็นหลักในการประชาสัมพันธ์ดำเนินการ ครบ 3 กลุ่มเป้าหมาย 1.กลุ่มผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์รับจ้าง 2.กลุ่มผู้ค้าหาบเร่-แผงลอย 3.กลุ่มเกษตรกร คิดเป็นร้อยละ 100 โดยส่วนใหญ่เข้าถึงสวัสดิการเรื่องบัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้า (บัตรทอง) และบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ (บัตรคนจน)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

1. แรงงานนอกระบบ หมายถึง กลุ่มแรงงานนอกระบบที่สำนักพัฒนาสังคมได้วิเคราะห์หรือกำหนดไว้อย่างชัดเจนว่าเป็นกลุ่มที่มีความสำคัญในลำดับต้นในการให้ความช่วยเหลือในช่วงปี 2563 และหน่วยงานของกรุงเทพมหานครสามารถให้บริการหรือตอบสนองความต้องการของกลุ่มเหล่านี้ได้ดีที่สุด 2. ผู้ที่ได้รับความรู้เรื่องการบริหารการเงิน หมายถึง ผู้ที่เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม การวางแผนทางการเงิน การบริหารจัดการเงิน การออมเงิน การแก้ไขปัญหาหนี้สิน ที่สำนักพัฒนาสังคม สำนักงานเขต หรือหน่วยงานอื่น ๆ จัดขึ้น 3. มีการวางแผนทางการเงิน หมายถึง ผู้เข้าร่วมโครงการฯ มีการดำเนินการ เช่น การทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย การลดรายจ่าย การหารายได้เพิ่ม การออมเงิน การลงทุนเพิ่มค่าเงินออม การวางแผนเกษียณอายุ การบริหารจัดการหนี้สิน เป็นต้น (หากมีอย่างใดอย่างหนึ่ง ถือว่า มีการวางแผนทางการเงิน)

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

(จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมเข้าถึงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสวัสดิการ และแหล่งทุนในการประกอบอาชีพ /จำนวนกลุ่มแรงงานอกระบบกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด)x 100

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
:๓.๒ - เมืองแห่งโอกาสทางเศรษฐกิจ
:๓.๒.๒ คนกรุงเทพฯมีโอกาสได้รับการฝึกอาชีพตามความถนัด%
:๓.๒.๒.๑ พัฒนาโรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร ศูนย์ฝึกอาชีพ และการจัดฝึกอาชีพ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง