ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
สำนักงานเขตพระนคร มีจุดเสี่ยงภัยทั้งหมด 24 จุด สามารถดำเนินการแก้ไข เฝ้าระวัง และตรวจตราจุดเสี่ยงภัยได้ครบตามแผนที่วางไว้ โดยจุดเสี่ยงภัย แบ่งเป็น จุดเสี่ยงภัยต่อการเกิดอาชญากรรม จำนวน 15 จุด และจุดเสี่ยงภัยต่อการเกิดอุบัติเหตุ จำนวน 9 จุด รวมทั้งสิ้น 24 จุด
สำนักงานเขตพระนคร มีจุดเสี่ยงภัยทั้งหมด 24 จุด สามารถดำเนินการแก้ไข เฝ้าระวัง และตรวจตราจุดเสี่ยงภัยได้ครบตามแผนที่วางไว้ โดยจุดเสี่ยงภัย แบ่งเป็น จุดเสี่ยงภัยต่อการเกิดอาชญากรรม จำนวน 15 จุด และจุดเสี่ยงภัยต่อการเกิดอุบัติเหตุ จำนวน 9 จุด รวมทั้งสิ้น 24 จุด
สำนักงานเขตพระนคร มีจุดเสี่ยงภัยทั้งหมด 24 จุด สามารถดำเนินการแก้ไข เฝ้าระวัง และตรวจตราจุดเสี่ยงภัยได้ครบตามแผนที่วางไว้ โดยจุดเสี่ยงภัย แบ่งเป็น จุดเสี่ยงภัยต่อการเกิดอาชญากรรม จำนวน 15 จุด และจุดเสี่ยงภัยต่อการเกิดอุบัติเหตุ จำนวน 9 จุด รวมทั้งสิ้น 24 จุด
สำนักงานเขตพระนคร มีจุดเสี่ยงภัยทั้งหมด 24 จุด สามารถดำเนินการแก้ไข เฝ้าระวัง และตรวจตราจุดเสี่ยงภัยได้ครบตามแผนที่วางไว้ โดยจุดเสี่ยงภัย แบ่งเป็น จุดเสี่ยงภัยต่อการเกิดอาชญากรรม จำนวน 15 จุด และจุดเสี่ยงภัยต่อการเกิดอุบัติเหตุ จำนวน 9 จุด รวมทั้งสิ้น 24 จุด
1. พื้นที่เสี่ยงภัย หมายถึง ถนน ตรอก ซอย หรือพื้นที่/อาคารรกร้าง ว่างเปล่าที่เสี่ยงหรือล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรมการกระทำผิดกฎหมาย หรือเหตุการณ์ / การกระทำใด ๆ ที่เป็นอันตรายต่อชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน 2. เงื่อนไข (ปัจจัย) ความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม หมายถึง เหตุ / ช่องทาง / สิ่งต่าง ๆ ที่อาจทำให้เกิดเหตุอาชญากรรม หรือก่อเหตุการณ์ความไม่ปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งได้ตามสภาพพื้นที่นั้น 3. การลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม หมายถึง การปรับ แก้ไข หรือการเพิ่มเติมสภาพแวดล้อมพื้นที่ เช่น การติดตั้งหรือซ่อมแซมไฟฟ้าส่องสว่าง การดูแลตัดต้นไม้ การติดตั้งหรือซ่อมแซมกล้องวงจรปิด (CCTV) การติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม การทำความสะอาด ฯลฯ รวมทั้งการเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่ โดยการจัดเจ้าหน้าที่ออกตรวจตราเพื่อเป็นการป้องปรามการก่อเหตุอาชญากรรมหรือเหตุการณ์ความไม่ปลอดภัยในบริเวณพื้นที่เสี่ยงภัยตามแต่ละสภาพพื้นที่นั้น ๆ
ค่าเป้าหมายร้อยละ 100 โดยแบ่งการให้คะแนน (ร้อยละ) ออกเป็น 3 ข้อ ได้แก่ 1. การดำเนินการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัย จำนวนคะแนน (ร้อยละ) 60 คะแนน คิดจาก y = ((x × 60))/n y=ร้อยละของจำนวนรายการที่ได้ดำเนินการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัยสำเร็จ x=จำนวนรายการที่ได้ดำเนินการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัยสำเร็จ n=จำนวนรายการที่ต้องดำเนินการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัยตามแผน 2. การเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัย จำนวนคะแนน (ร้อยละ) 20 คะแนน คิดจาก y = ((x × 20))/n y=ร้อยละของผลการเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัยที่ดำเนินการได้ x=ผลการเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัยที่ดำเนินการได้ n=เป้าหมายการดำเนินการเฝ้าระวังและตรวจตราตามแผน 3. การรายงานผลการดำเนินงานประจำเดือน จำนวนคะแนน (ร้อยละ) 20 คะแนน คิดจาก การรายงานผลการดำเนินการแก้ไขพื้นที่เสี่ยงภัยที่สำนักงานเขตส่งให้สำนักเทศกิจ โดยแบ่งการให้คะแนนเป็น 2 ส่วน ดังนี้ 3.1 จำนวน 15 คะแนน (ร้อยละ 75) คิดจากความครบถ้วนของรายงาน หากไม่ครบถ้วนจะตัดคะแนนจุดละ 0.1 คะแนน 3.2 จำนวน 5 คะแนน (ร้อยละ 25) คิดจากการส่งรายงานทันภายในระยะเวลาที่กำหนด
1.เอกสารการรายงานให้ผู้บริหารกรุงเทพมหานครทราบเป็นรายเดือนพร้อมภาพถ่าย 2.สรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการ
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด |
:๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน% |
:๑.๒.๑.๑ เสริมสร้างความปลอดภัยเพื่อลดความล่อแหลมของสภาพแวดล้อมต่อการก่อ อาชญากรรม |