ค่าเป้าหมาย ไม่น้อยกว่า โครงการ/กิจกรรม : 3
ผลงานที่ทำได้ ไม่น้อยกว่า โครงการ/กิจกรรม : 1
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
กำหนดจัดโครงการ/กิจกรรมด้านศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี หรือกิจกรรมในวันสำคัญที่จัดขึ้นเพื่อเปิดโอกาสให้เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไป ได้เข้าร่วมหรือมีส่วนร่วมในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จำนวน 2 โครงการ ประกอบด้วย 6 กิจกรรม จัดกิจกรรมแล้วจำนวน 1 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมเชิดชูเกียรติวันพ่อ เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2563 กิจกรรมประกอบด้วย การมอบประกาศเชิดชูเกียรติให้แก่พ่อดีเด่น จำนวน 25 คน การแสดงดนตรีไทย และรับประทานอาหารร่วมกัน ผู้เข้าร่วมโครงการครบตามเป้าหมาย และเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กำหนดจัดโครงการ/กิจกรรมด้านศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี หรือกิจกรรมในวันสำคัญที่จัดขึ้นเพื่อเปิดโอกาสให้เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไป ได้เข้าร่วมหรือมีส่วนร่วมในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จำนวน 2 โครงการ ประกอบด้วย 6 กิจกรรม จัดกิจกรรมแล้วจำนวน 1 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมเชิดชูเกียรติวันพ่อ เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2563 กิจกรรมประกอบด้วย การมอบประกาศเชิดชูเกียรติให้แก่พ่อดีเด่น จำนวน 25 คน การแสดงดนตรีไทย และรับประทานอาหารร่วมกัน ผู้เข้าร่วมโครงการครบตามเป้าหมาย และเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ เตรียมดำเนินโครงการในวันที่ 8 เมษายน 2564 ได้แก่ กิจกรรมรดน้ำขอพรผู้สูงอายุ วันที่ 9 เมษายน 2564 ได้แก่กิจกรรมแห่พระพุทธมงคลญาณพิศาลประชาสิทธิ์ วันที่ 10 เมษายน 2564 ได้แก่โครงการบพรรชาสามเณรภาคฤดูร้อน
กำหนดจัดโครงการ/กิจกรรมด้านศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี หรือกิจกรรมในวันสำคัญที่จัดขึ้นเพื่อเปิดโอกาสให้เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไป ได้เข้าร่วมหรือมีส่วนร่วมในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จำนวน 2 โครงการ ประกอบด้วย 6 กิจกรรม จัดกิจกรรมแล้วจำนวน 1 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมเชิดชูเกียรติวันพ่อ เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2563 กิจกรรมประกอบด้วย การมอบประกาศเชิดชูเกียรติให้แก่พ่อดีเด่น จำนวน 25 คน การแสดงดนตรีไทย และรับประทานอาหารร่วมกัน ผู้เข้าร่วมโครงการครบตามเป้าหมาย และเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ กลุ่มเป้าหมายคือเด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไปที่เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 500 คน เจ้าหน้าที่ดำเนินการจำนวน 10 คน รวม 510 คน ยกเลิกกิจกรรมเนื่องจากสถานการณ์ โควิด-19 กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมวันสงกรานต์ จำนวน 3 กิจกรรม ดังนี้ กิจกรรมย่อยที่1 พิธีรดน้ำขอพรผู้สูงอายุปูชนียบุคคลกลุ่มเป้าหมายประกอบด้วย เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุปูชนียบุคคลเขตยานนาวาและประชาชนทั่วไปที่เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 250 คน เจ้าหน้าที่ดำเนินการ 10 คน รวม 260 คน กิจกรรมประกอบด้วยการแสดงของผู้สูงอายุ การรดน้ำขอพรผู้สูงอายุและการรับประทานอาหารร่วมกัน จัดประชุมหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2564 กำหนดดำเนินการในวันที่ 8 เมษายน 2564 ณ วัดด่านพระรามสาม และยกเลิกการจัดกิจกรรมเนื่องจากกรุงเทพมหานครได้มีประกาศยกเลิกการจัดงานเทศกาลสงกรานต์ประจำปีของกรุงเทพมหานครทั้งหมด เนื่องจากการการระบาดของไวรัสโควิด-19 กิจกรรมย่อยที่2 พิธีแห่พระพุทธมงคลญาณพิศาลประชาสิทธิ์ พระพุทธรูปประจำเขตยานนาวาไปตามเส้นทางต่างๆ เพื่อให้ประชาชนได้สรงน้ำ จัดประชุมหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2564 กำหนดดำเนินการในวันที่ 9 เมษายน 2564 และยกเลิกการจัดกิจกรรมเนื่องจากกรุงเทพมหานครได้มีประกาศยกเลิกการจัดงานเทศกาลสงกรานต์ประจำปีของกรุงเทพมหานครทั้งหมด เนื่องจากการการระบาดของไวรัสโควิด-19 กิจกรรมย่อยที่3 งานสงกรานต์วัดคลองภูมิกลุ่มเป้าหมายประกอบด้วย เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไปที่มาร่วมกิจกรรมจำนวน 250 คน เจ้าหน้าที่ดำเนินการ 10 คน รวม 260 คน กิจกรรมประกอบด้วยขวนแห่นางสงกรานต์ แห่ผ้าห่มหลวงพ่อโตไปตามเส้นทางเพื่อนำไปวัดคลองภูมิ ยกเลิกกิจกรรมเนื่องจากมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวนมาก ไม่สามารถควบคุมได้ จึงเสี่ยงต่อสถานการณ์ โควิด-19 ประกอบกับกรุงเทพมหานครได้มีประกาศยกเลิกการจัดงานเทศกาลสงกรานต์ประจำปีของกรุงเทพมหานครทั้งหมด กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมวันอัฏฐมีบูชา กลุ่มเป้าหมายได้แก่ เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไป กิจกรรมประกอบด้วย - การสวดบูชาคุณพระพุทธเจ้า - พิธีแห่พระปางดับทุกข์ไปตามเส้นทางในพื้นที่เขตยานนาวา - พิธีจำลองการถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระของพระพุทธเจ้า ยกเลิกกิจกรรมเนื่องจากมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวนมาก ไม่สามารถควบคุมได้ จึงเสี่ยงต่อสถานการณ์ โควิด-19 ประกอบกับกรุงเทพมหานครได้มีประกาศยกเลิกการจัดงานเทศกาลสงกรานต์ประจำปีของกรุงเทพมหานครทั้งหมด กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมเชิดชูเกียรติ “วันแม่” มอบวุฒิบัตรเชิดชูแม่ดีเด่นเขตยานนาวา กลุ่มเป้าหมายประกอบด้วย เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไปที่มาร่วม (กำหนดดำเนินการในเดือนสิงหาคม 2564) กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมขนมหวานถิ่นยานนาวา กลุ่มเป้าหมายประกอบด้วยเด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไปที่มาร่วม กิจกรรมจำนวน 250 คน เจ้าหน้าที่ดำเนินการ 10 คน รวม 260 คน กิจกรรมประกอบด้วยการสาธิตทำขนมไทยโบราณ การประกวดแข่งขันของเด็กนักเรียน(กำหนดดำเนินการในเดือนสิงหาคม 2564)
กำหนดจัดโครงการ/กิจกรรมด้านศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี หรือกิจกรรมในวันสำคัญที่จัดขึ้นเพื่อเปิดโอกาสให้เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไป ได้เข้าร่วมหรือมีส่วนร่วมในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จำนวน 2 โครงการ ประกอบด้วย 6 กิจกรรม จัดกิจกรรมแล้วจำนวน 1 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมเชิดชูเกียรติวันพ่อ เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2563 กิจกรรมประกอบด้วย การมอบประกาศเชิดชูเกียรติให้แก่พ่อดีเด่น จำนวน 25 คน การแสดงดนตรีไทย และรับประทานอาหารร่วมกัน ผู้เข้าร่วมโครงการครบตามเป้าหมาย และเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ กลุ่มเป้าหมายคือเด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไปที่เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 500 คน เจ้าหน้าที่ดำเนินการจำนวน 10 คน รวม 510 คน ยกเลิกกิจกรรมเนื่องจากสถานการณ์ โควิด-19 กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมวันสงกรานต์ จำนวน 3 กิจกรรม ดังนี้ กิจกรรมย่อยที่1 พิธีรดน้ำขอพรผู้สูงอายุปูชนียบุคคลกลุ่มเป้าหมายประกอบด้วย เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุปูชนียบุคคลเขตยานนาวาและประชาชนทั่วไปที่เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 250 คน เจ้าหน้าที่ดำเนินการ 10 คน รวม 260 คน กิจกรรมประกอบด้วยการแสดงของผู้สูงอายุ การรดน้ำขอพรผู้สูงอายุและการรับประทานอาหารร่วมกัน จัดประชุมหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2564 กำหนดดำเนินการในวันที่ 8 เมษายน 2564 ณ วัดด่านพระรามสาม และยกเลิกการจัดกิจกรรมเนื่องจากกรุงเทพมหานครได้มีประกาศยกเลิกการจัดงานเทศกาลสงกรานต์ประจำปีของกรุงเทพมหานครทั้งหมด เนื่องจากการการระบาดของไวรัสโควิด-19 กิจกรรมย่อยที่2 พิธีแห่พระพุทธมงคลญาณพิศาลประชาสิทธิ์ พระพุทธรูปประจำเขตยานนาวาไปตามเส้นทางต่างๆ เพื่อให้ประชาชนได้สรงน้ำ จัดประชุมหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2564 กำหนดดำเนินการในวันที่ 9 เมษายน 2564 และยกเลิกการจัดกิจกรรมเนื่องจากกรุงเทพมหานครได้มีประกาศยกเลิกการจัดงานเทศกาลสงกรานต์ประจำปีของกรุงเทพมหานครทั้งหมด เนื่องจากการการระบาดของไวรัสโควิด-19 กิจกรรมย่อยที่3 งานสงกรานต์วัดคลองภูมิกลุ่มเป้าหมายประกอบด้วย เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไปที่มาร่วมกิจกรรมจำนวน 250 คน เจ้าหน้าที่ดำเนินการ 10 คน รวม 260 คน กิจกรรมประกอบด้วยขวนแห่นางสงกรานต์ แห่ผ้าห่มหลวงพ่อโตไปตามเส้นทางเพื่อนำไปวัดคลองภูมิ ยกเลิกกิจกรรมเนื่องจากมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวนมาก ไม่สามารถควบคุมได้ จึงเสี่ยงต่อสถานการณ์ โควิด-19 ประกอบกับกรุงเทพมหานครได้มีประกาศยกเลิกการจัดงานเทศกาลสงกรานต์ประจำปีของกรุงเทพมหานครทั้งหมด กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมวันอัฏฐมีบูชา กลุ่มเป้าหมายได้แก่ เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไป กิจกรรมประกอบด้วย - การสวดบูชาคุณพระพุทธเจ้า - พิธีแห่พระปางดับทุกข์ไปตามเส้นทางในพื้นที่เขตยานนาวา - พิธีจำลองการถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระของพระพุทธเจ้า ยกเลิกกิจกรรมเนื่องจากมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวนมาก ไม่สามารถควบคุมได้ จึงเสี่ยงต่อสถานการณ์ โควิด-19 ประกอบกับกรุงเทพมหานครได้มีประกาศยกเลิกการจัดงานเทศกาลสงกรานต์ประจำปีของกรุงเทพมหานครทั้งหมด กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมเชิดชูเกียรติ “วันแม่” มอบวุฒิบัตรเชิดชูแม่ดีเด่นเขตยานนาวา กลุ่มเป้าหมายประกอบด้วย เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไปที่มาร่วม เดิมกำหนดดำเนินการในเดือนสิงหาคม 2564 แต่เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 จึงยกเลิกการจัดกิจกรรม กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมขนมหวานถิ่นยานนาวา กลุ่มเป้าหมายประกอบด้วยเด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไปที่มาร่วม กิจกรรมจำนวน 250 คน เจ้าหน้าที่ดำเนินการ 10 คน รวม 260 คน กิจกรรมประกอบด้วยการสาธิตทำขนมไทยโบราณ การประกวดแข่งขันของเด็กนักเรียน เดิมกำหนดดำเนินการในเดือนสิงหาคม 2564 แต่เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 จึงยกเลิกการจัดกิจกรรม
โครงการ/กิจกรรมด้านศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี หรือกิจกรรมวันสำคัญ หมายถึง โครงการ/กิจกรรมที่ให้ผู้เข้าร่วมได้เรียนรู้ ศึกษาพฤติกรรม วิถีชีวิต ความเชื่อ หรือในอดีตที่ปฏิบัติสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน เข้าร่วม หมายถึง เข้ามาร่วมกิจกรรมด้วยความสมัครใจมีส่วนร่วม หมายถึง เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในขั้นตอนกระบวนการ หรือกำหนดนโยบายร่วมกัน
วัดจากจำนวนโครงการ/กิจกรรมรวมถึงกิจกรรมที่อยู่ในโครงการ ด้านศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี หรือกิจกรรมวันสำคัญที่จัดขึ้นเพื่อเปิดโอกาสให้เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไป ได้เข้าร่วมหรือมีส่วนร่วมในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
รายงานในระบบ digital plans
:ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All |
:๓.๔ - สังคมพหุวัฒนธรรม |
:๓.๔.๑ คนกรุงเทพฯที่มีความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุขและ% |
:๓.๔.๑.๒ พัฒนากระบวนการเรียนรู้ด้านพหุวัฒนธรรมในสถานศึกษาและชุมชนในพื้นที่ |