ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
อยู่ระหว่างการคัดเลือกความเห็น จัดประชุมภายในหน่วยงาน และนำมาทำโครงการพัฒนานวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน
- จัดทำโครงการ Yannawa Connect บริการช่องทางใหม่ ใส่ใจยานนาวา เพื่อพัฒนาช่องทางการให้บริการออนไลน์ในรูปแบบ Line@yannawa ซึ่งเป็นแอปพลิเคชั่นที่มีข้อความตอบกลับได้อัติโนมัติทำให้ประชาชนได้รับข้อมูลที่รวดเร็ว รวมทั้งมีช่องทางที่ประชาชนสามารถติดต่อกับเจ้าหน้าที่ได้โดยตรง ประกอบด้วยเมนูให้บริการที่หลากหลาย ประกอบด้วย 2 ตัวชี้วัด ได้แก่ 1. มี Line@ยานนาวา จำนวน 1 บัญชี 2. ระยะเวลาการนำไปใช้ประโยชน์ ตั้งแต่มีนาคม - กรกฎาคม 2564 สถิติการใช้งาน Line@yannawa ตั้งแต่วันที่ 1-30 มีนาคม 2564 จำนวนเพื่อน 273 คน จำนวนการส่งข้อความทั้งหมด 1049 ข้อความ
- จัดทำโครงการ Yannawa Connect บริการช่องทางใหม่ ใส่ใจยานนาวา เพื่อพัฒนาช่องทางการให้บริการออนไลน์ในรูปแบบ Line@yannawa ซึ่งเป็นแอปพลิเคชั่นที่มีข้อความตอบกลับได้อัติโนมัติทำให้ประชาชนได้รับข้อมูลที่รวดเร็ว รวมทั้งมีช่องทางที่ประชาชนสามารถติดต่อกับเจ้าหน้าที่ได้โดยตรง ประกอบด้วยเมนูให้บริการที่หลากหลาย ประกอบด้วย 2 ตัวชี้วัด ได้แก่ 1. มี Line@ยานนาวา จำนวน 1 บัญชี 2. ระยะเวลาการนำไปใช้ประโยชน์ ตั้งแต่มีนาคม - กรกฎาคม 2564 สถิติการใช้งาน Line@yannawa ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน - 27 มิถุนายน 2564 จำนวนเพื่อน 861 คน จำนวนการส่งข้อความทั้งหมด 1,855 ข้อความ
- จัดทำโครงการ Yannawa Connect บริการช่องทางใหม่ ใส่ใจยานนาวา เพื่อพัฒนาช่องทางการให้บริการออนไลน์ในรูปแบบ Line@yannawa ซึ่งเป็นแอปพลิเคชั่นที่มีข้อความตอบกลับได้อัติโนมัติทำให้ประชาชนได้รับข้อมูลที่รวดเร็ว รวมทั้งมีช่องทางที่ประชาชนสามารถติดต่อกับเจ้าหน้าที่ได้โดยตรง ประกอบด้วยเมนูให้บริการที่หลากหลาย ประกอบด้วย 2 ตัวชี้วัด ได้แก่ 1. มี Line@ยานนาวา จำนวน 1 บัญชี 2. ระยะเวลาการนำไปใช้ประโยชน์ ตั้งแต่มีนาคม - กรกฎาคม 2564 สถิติการใช้งาน Line@yannawa ตั้งแต่วันที่ 1 - 31 กรกฎาคม 2564 จำนวนเพื่อน 1,282 คน จำนวนการส่งข้อความทั้งหมด 1,202 ข้อความ
นวัตกรรม หมายถึง แนวคิด วิธี และรูปแบบใหม่ๆ ในการจัดการองค์กร การดาเนินงาน และการให้บริการ อันเป็นผลมาจากการสร้าง พัฒนา เพิ่มพูน ต่อยอด หรือประยุกต์ใช้องค์ความรู้ และแนวปฏิบัติต่างๆ ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการพัฒนาประสิทธิภาพประสิทธิผล หรือคุณภาพของการปฏิบัติงานของหน่วยงาน หน่วยงานนาเสนอนวัตกรรมรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง ดังนี้ นวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เป็นการคิดริเริ่มนโยบาย กฎหมายและกฎใหม่ๆ ให้ทันสมัย เหมาะสมและทันต่อสถานการณ์ รวมทั้งมีความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ของกรุงเทพมหานคร นวัตกรรมการบริการ (Service Innovation) การพัฒนาหรือปรับปรุงรูปแบบการให้บริการด้วย การนาแนวคิด องค์ความรู้ ประสบการณ์ หรือเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ เพื่อพัฒนาหรือปรับปรุงรูปแบบ การให้บริการใหม่ๆ ที่สอดคล้อง และทันต่อความต้องการของประชาชน/ผู้รับบริการ นวัตกรรมการบริหาร/องค์กร (Administrative or Organizational Innovation) การพัฒนาหรือปรับปรุงกระบวนงานใหม่ (New Process) รวมทั้งการพัฒนาคุณภาพการบริหารงาน เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการดาเนินงานของหน่วยงาน หรือกระบวนการจัดโครงสร้างหน่วยงานรูปแบบใหม่ ที่ส่งผลต่อ ระบบการทางานขององค์กร การเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของหน่วยงาน หมายถึง การปรับปรุง แก้ไข และหรือ เพิ่มความสามารถ หรือทักษะในการปฏิบัติงานของหน่วยงานให้ดียิ่งขึ้น เพื่อให้ผลการปฏิบัติงาน บรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคุณภาพ เพื่อให้เกิดความพึงพอใจแก่ผู้ปฏิบัติงานและ ผู้รับบริการ
การประเมินการเสนอนวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน พิจารณาจาก ระดับความสาเร็จในการดาเนินกิจกรรมของแต่ละหน่วยงาน ตามขั้นตอนต่างๆ ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 เป็นขั้นตอนการค้นหา และรวบรวมความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัญหา หรือ ความต้องการที่จะพัฒนางาน โดยเสนอแนวคิดภายใต้รูปแบบที่กาหนดตามแบบฟอร์มการมีส่วนร่วมแสดง ความคิดเห็นในการพัฒนา/ปรับปรุงการปฏิบัติงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน (แบบฟอร์ม 1) โดยกาหนดจานวนแบบฟอร์มที่หน่วยงานที่รับการประเมินต้องส่งให้สานักงาน ก.ก. ดังนี้ 1. หน่วยงานระดับสานัก จานวนไม่น้อยกว่า 20 ชุด 2. สานักงานเขต จานวนไม่น้อยกว่า 15 ชุด 3. ส่วนราชการในสังกัดสานักปลัดกรุงเทพมหานคร สานักงานเลขานุการ สภากรุงเทพมหานคร และสานักงานเลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร จานวนไม่น้อยกว่า 10 ชุด ขั้นตอนที่ 2 เป็นขั้นตอนการคัดเลือกความคิดเห็นจากขั้นตอนที่ 1 โดยคณะผู้บริหาร/คณะทางาน ของแต่ละหน่วยงาน กาหนดให้แต่ละหน่วยงานพิจารณาเลือกเพียง 1 ความคิดเห็น เพื่อนามาพัฒนา หรือ ปรับปรุงการทางานของหน่วยงานให้มีประสิทธิภาพ โดยให้ระบุรายละเอียดของแนวคิดที่ได้รับการคัดเลือก ในแบบสรุปผลการคัดเลือกความคิดเห็นในการเสนอนวัตกรรมฯ (แบบฟอร์ม 2) ขั้นตอนที่ 3 เป็นขั้นตอนการนาเสนอโครงการ โดยหน่วยงานนาแนวคิดที่ได้รับการคัดเลือกตาม ขั้นตอนที่ 2 มาจัดทาโครงการนวัตกรรมฯ 1 โครงการ (แบบฟอร์ม 3) พร้อมจัดทาแบบฟอร์มนาเสนอโครงการ พัฒนานวัตกรรมฯ (แบบฟอร์ม 4) เพื่อเสนอคณะกรรมการนวัตกรรมกรุงเทพมหานครพิจารณาต่อไป ทั้งนี้โครงการพัฒนานวัตกรรมฯ ที่นาเสนอไม่จาเป็นต้องดาเนินการแล้วเสร็จภายในปีงบประมาณ เดียว สามารถนาเสนอโครงการฯ ระยะยาวที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่องได้ โดยกาหนดเป้าหมายโครงการ แต่ละปีงบประมาณให้ชัดเจน ขั้นตอนที่ 4 เป็นขั้นตอนการพัฒนานวัตกรรมฯ ที่ผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการฯ โดยหน่วยงานดาเนินโครงการพัฒนานวัตกรรมฯ ตามแนวทาง/กิจกรรมที่กาหนดไว้ในโครงการ เพื่อให้บรรลุ เป้าหมาย ตามตัวชี้วัดที่กาหนด และส่งเอกสาร หลักฐานให้สานักงาน ก.ก. พิจารณาภายในระยะเวลาที่กาหนด ขั้นตอนที่ 5 เป็นขั้นตอนการจัดทาแบบสารวจผลการนานวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ โดยให้ หน่วยงานจัดทาตาม (แบบฟอร์ม 5) และนาเสนอต่อผู้บริหารหน่วยงาน/ส่วนราชการฯ เพื่อพิจารณาให้ความ เห็นชอบ
รายงานในระบบ digital plans
:ด้านที่ ๖ – มหานครแห่งเศรษฐกิจและการเรียนรู้ : Bangkok as an Economic and Learning Centre |
:๖.๑ - เมืองแห่งโอกาสทางธุรกิจและการลงทุน |
:๖.๑.๑ กรุงเทพมหานครมีความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ% |
:๖.๑.๑.๑ สนับสนุนการประกอบธุรกิจ และพัฒนาผลิตผลการเกษตร |