รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

(1)ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 : 5006-980

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 30

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด :
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
34.72
100
100 / 100
2
57.19
0
0 / 0
3
91.80
0
0 / 0
4
100.00
0
0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

เป้าหมายรวม(เขต) : 21,164.81 ตัน/ปี แบ่งเป็น เป้าหมายขยะรีไซเคิล : 15,873.60 ตัน/ปี เป้าหมายมูลฝอยอินทรีย์ : 5,231.20 ตัน/ปี ผลงานที่ดำเนินการได้ 1.ขยะรีไซเคิล (ต.ค. 63 - ธ.ค. 63) : 6,284.85 ตัน คิดเป็นร้อยละ 39.59 2.มูลฝอยอินทรีย์ (ต.ค. 63 - ธ.ค. 63) : 1,063.69 ตัน คิดเป็นร้อยละ 20.33 เป้าหมายรวม คิดเป็นร้อยละ 34.72

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

เป้าหมายรวม(เขต) : 21,164.81 ตัน/ปี แบ่งเป็น เป้าหมายขยะรีไซเคิล : 15,873.60 ตัน/ปี เป้าหมายมูลฝอยอินทรีย์ : 5,231.20 ตัน/ปี ผลงานที่ดำเนินการได้ 1.ขยะรีไซเคิล (ต.ค. 63 - ก.พ. 64) : 10,225.58 ตัน คิดเป็นร้อยละ 64.42 2.มูลฝอยอินทรีย์ (ต.ค. 63 - ก.พ. 64) : 1,879.61 ตัน คิดเป็นร้อยละ 35.52 เป้าหมายรวม คิดเป็นร้อยละ 57.19

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

เป้าหมายรวม(เขต) : 21,164.81 ตัน/ปี แบ่งเป็น เป้าหมายขยะรีไซเคิล : 15,873.60 ตัน/ปี เป้าหมายมูลฝอยอินทรีย์ : 5,231.20 ตัน/ปี ผลงานที่ดำเนินการได้ 1.ขยะรีไซเคิล (ต.ค. 63 - มิ.ย. 64) : 16,000.72 ตัน คิดเป็นร้อยละ 100 2.มูลฝอยอินทรีย์ (ต.ค. 63 - มิ.ย. 64) : 3,429.27 ตัน คิดเป็นร้อยละ 64.81 เป้าหมายรวม คิดเป็นร้อยละ 91.80

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

เป้าหมาย (ตามที่สำนักสิ่งแวดล้อมกำหนด) เป้าหมายขยะรีไซเคิล เฉลี่ย 43.49 ตัน/วัน เป้าหมายมูลฝอยอินทรีย์ เฉลี่ย 14.50 ตัน/วัน รวมเฉลี่ย 57.99 ตัน/วัน ผลการดำเนินงาน (ข้อมูลถึง 31 สิงหาคม 2564) ขยะรีไซเคิล เฉลี่ย 63.59 ตัน/วัน มูลฝอยอินทรีย์ เฉลี่ย 15.23 ตัน/วัน รวมเฉลี่ย 78.82 ตัน/วัน กิจกรรมหลักที่สำนักงานเขตดำเนินการ 1. เจ้าหน้าที่ทุกฝ่ายในอาคารสำนักงานเขต  แยกขยะรีไซเคิลขาย  แยกขยะเศษอาหาร หมักปุ๋ย/ส่งเกษตรกรเลี้ยงสัตว์  แยกพลาสติกโครงการ วน 2. เจ้าหน้าที่แยกขยะระหว่างปฏิบัติงาน  เศษผัก เปลือกผลไม้ ส่งโรงงานหมักปุ๋ยอินทรีย์ที่ศูนย์กำจัดมูลฝอย  กิ่งไม้ ใบไม้ รวบรวมส่งโรงงานปุ๋ยอินทรีย์ที่ศูนย์กำจัดมูลฝอย  จัดรถเก็บเศษผัก ผลไม้ ส่งจุดหมักปุ๋ยของสำนักงานเขต  กิ่งไม้ใบไม้ บดย่อยและส่งจุดหมักปุ๋ยของสำนักงานเขต  คนงานกวาด รวบรวมใบไม้แห้ง ส่งจุดหมักปุ๋ย  คนสวน รวบรวมใบไม้ ยอดไม้ ใบหญ้า ส่งจุดหมักปุ๋ย  วัชพืช ผักตบชวาจากการเปิดทางน้ำไหลส่งจุดหมักปุ๋ย  เศษผัก ผลไม้ หมักขยะหอม  ของเหลือใช้จากไม้ ยาง ขุยมะพร้าว ทำกระถางต้นไม้ แก้วสาน ที่นั่ง และวัสดุตกแต่ง ฯลฯ  กล่องเครื่องดื่ม ส่งโครงการหลังคาเขียว  เศษอิฐ หิน ดิน ทราย ใช้ถมที่ลุ่มต่ำในพื้นที่เขต  เจ้าหน้าที่เก็บขนมูลฝอยแยกรีไซเคิลใส่ช่องสีเหลืองและขยะอันตรายช่องสีส้ม ไม่อัดรวมเข้ากับขยะทั่วไป 3. ส่งเสริมประชาชนลดและคัดแยกขยะที่แหล่งกำเนิด  ส่งเสริมการแยกขยะเศษอาหาร เศษผัก ผลไม้ หมักปุ๋ยในบ้าน 4. การรณรงค์สร้างการรับรู้ในภาพรวมในพื้นที่เขต  กิจกรรมรณรงค์/สร้างการรับรู้ปัญหาขยะและการคัดแยกขยะด้วยสื่อประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ  จัดกิจกรรมผ้าป่ารีไซเคิล  ปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกได้ ปี 2564 ข้อมูลสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ส.ค. 64 ผลการดำเนินการ 8.63 ตันต่อปี  กิจกรรมหลักที่สำนักงานเขตดำเนินการ 1. จุดทิ้งมูลฝอยอันตรายสำหรับประชาชนทั่วไป  ตั้งจุดทิ้งมูลฝอยอันตรายในสำนักงานเขต 2 จุด  ตั้งจุดทิ้งมูลฝอยอันตรายในปั๊มเชลล์ 3 แห่ง  ตั้งจุดทิ้งมูลฝอยอันตรายในชุมชน 17แห่ง  ตั้งจุดทิ้งมูลฝอยอันตรายในศาสนสถาน 7 แห่ง  ตั้งจุดทิ้งมูลฝอยอันตรายในสถานศึกษา 6 แห่ง 2. กิจกรรมในการปฏิบัติงาน  จัดให้มีสถานที่พักรวมขยะอันตราย แยกประเภทของสำนักงานก่อนนำส่งศูนย์กำจัดมูลฝอย  จัดเจ้าที่เข้าเก็บขยะอันตรายจากจุดทิ้งทุก ๆ 15 วัน  จัดเจ้าหน้าที่เข้าจัดเก็บขยะอันตรายตามที่รับแจ้ง  จัดเจ้าหน้าที่เข้าจัดเก็บขยะอันตรายจากครัวเรือนทุก 15 วัน หมุนเวียนครอบคลุมพื้นที่ร้อยละ 70  เจ้าหน้าที่ประจำรถเก็บขยะทั่วไป เก็บขยะอันตรายใส่ในช่องสีส้มของรถขยะ และนำส่งจุดพักขยะอันตรายที่สำนักงานเขต  กำหนดวัน-เวลาในการจัดเก็บมูลฝอยอันตรายหรือดำเนินการรวมกับการจัดเก็บมูลฝอยชิ้นใหญ่ 4 ครั้ง/เดือน 3. การรณรงค์สร้างการรับรู้  จัดกิจกรรมรณรงค์แยกก่อนทิ้งตามแผนรณรงค์แยกก่อนทิ้งของกระทรวงมหาดไทย 6 ครั้ง/ปี

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

1. มูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิด หมายถึง มูลฝอยที่ สามารถนำกลับไปใช้ประโยชน์ได้ซึ่งคัดแยกจากบ้านเรือน ชุมชน โรงเรียน ศาสนสถาน ตลาด สถานประกอบการ ห้างสรรพสินค้า ฯลฯ 2. นำไปใช้ประโยชน์ หมายถึง การนำมูลฝอยกลับไปใช้ ประโยชน์ตามคุณสมบัติของมูลฝอย เช่น ขาย ทำปุ๋ยหมัก เลี้ยงสัตว์ แปรรูป ถมที่ ฯลฯ

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

ร้อยละของปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้น เท่ากับปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดปี256๔ลบ ปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดปี 2560 หาร ปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดปี 2560 คูณ 100 (ปริมาณมูลฝอยตั้งแต่ ต.ค.63 - ก.ย. 64)

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

1. รายงานผลตามแบบประเมินที่สำนักสิ่งแวดล้อมกำหนด 2. แบบรายงานการเก็บรวบรวมปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและ นำกลับไปใช้ประโยชน์ประจำปี 2564 3. ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๑ - ปลอดมลพิษ
:๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ%
:๑.๑.๒.๑ ลดและควบคุมปริมาณมูลฝอยที่แหล่งกำเนิดและเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่แหล่งกำเนิดจนถึงการกำจัดอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง