รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละของนักเรียนระดับประถมศึกษาที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแต่ละวิชาผ่านเกณฑ์คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป : 5008-0818

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 34

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 29.17

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00
100
100 / 100
2
5.00
0
0 / 0
3
20.00
0
0 / 0
4
29.17
0
0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการสอนเสริมตามโครงการเพิ่มศักยภาพเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่วันที่ 19 ธันวาคม 2563 และสำนักการศึกษาได้จัดการทดสอบ Pre O-NET ในวันที่ 17 ธันวาคม 2563 โดยผลคะแนนของนักเรียนโรงเรียนวัดไผ่ตัน มีค่าเฉลี่ยดังนี้ ภาษาไทย = 45.97 ภาษาอังกฤษ = 27.35 คณิตศาสตร์ = 29.19 วิทยาศาสตร์ = 30.61 อยู่ระหว่างการรายบงานผลให้ผู้อำนวยการเขตทราบ และรอผลการเปรียบเทียบโดยสรุปจากทางสำนักการศึกษา

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

โรงเรียนดำเนินการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 ในวันเสาร์ที่ 13 มีนาคม 2564 นักเรียนโรงเรียนวัดไผ่ตัน สมัครใจเข้าทดสอบจำนวน 31 ราย เข้าทดสอบ 30 ราย ขาดสอบ 1 ราย อยู่ระหว่างการรอประกาศผลการทดสอบฯ และเตรียมเบิกจ่ายงบประมาณในช่วงที่มีการสอนเสริมในเดือนธันวาคม 2563 และยกเลิกการดำเนินการสอนเสริม ตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2564 ตามหนังสือสำนักการศึกษา ด่วนที่สุด ที่ กท 0805/594 ลงวันที่ 28 มกราคม 2564 เรื่อง แนวทางการดำเนินการโครงการเพิ่มศักยภาพเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ประจำปีการศึกษา 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

โรงเรียนดำเนินการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 ในวันเสาร์ที่ 13 มีนาคม 2564 นักเรียนโรงเรียนวัดไผ่ตัน สมัครใจเข้าทดสอบจำนวน 31 ราย เข้าทดสอบ 30 ราย ขาดสอบ 1 ราย มีการเบิกจ่ายงบประมาณในช่วงที่มีการสอนเสริมในเดือนธันวาคม 2563 และยกเลิกการดำเนินการสอนเสริม ตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2564 ตามหนังสือสำนักการศึกษา ด่วนที่สุด ที่ กท 0805/594 ลงวันที่ 28 มกราคม 2564 เรื่อง แนวทางการดำเนินการโครงการเพิ่มศักยภาพเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ประจำปีการศึกษา 2563 ผลการทดสอบ มีดังนี้ ภาษาไทย ร้อยละ 66.32 (ระดับประเทศ 56.20) ภาษาอังกฤษ ร้อยละ 38.33 (ระดับประเทศ 43.55) คณิตศาสตร์ ร้อยละ 22.33 (ระดับประเทศ 29.99) วิทยาศาสตร์ ร้อยละ 35.80 (ระดับประเทศ 38.78)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

โรงเรียนดำเนินการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 ในวันเสาร์ที่ 13 มีนาคม 2564 นักเรียนโรงเรียนวัดไผ่ตัน สมัครใจเข้าทดสอบจำนวน 31 ราย เข้าทดสอบ 30 ราย ขาดสอบ 1 ราย มีการเบิกจ่ายงบประมาณในช่วงที่มีการสอนเสริมในเดือนธันวาคม 2563 และยกเลิกการดำเนินการสอนเสริม ตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2564 ตามหนังสือสำนักการศึกษา ด่วนที่สุด ที่ กท 0805/594 ลงวันที่ 28 มกราคม 2564 เรื่อง แนวทางการดำเนินการโครงการเพิ่มศักยภาพเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ประจำปีการศึกษา 2563 ผลการทดสอบ มีดังนี้ ภาษาไทย ร้อยละ 66.32 (ระดับประเทศ 56.20) ภาษาอังกฤษ ร้อยละ 38.33 (ระดับประเทศ 43.55) คณิตศาสตร์ ร้อยละ 22.33 (ระดับประเทศ 29.99) วิทยาศาสตร์ ร้อยละ 35.80 (ระดับประเทศ 38.78) ผลสัมฤทธิ์การเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50 คะแนนขึ้นไป พบว่า สำนักงานงานเขตพญาไทมีคะแนนเฉลี่ย ร้อยละ 29.17

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

นิยาม/วิธีการคำนวณ นักเรียนประถมศึกษา หมายถึง นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ที่เข้าทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 คะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) แต่ละวิชา หมายถึง คะแนนสอบรายบุคคลของนักเรียน จำนวน 4 วิชา คือ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

วิธีการคำนวณ จำนวนนักเรียนชั้น ป.6ที่มีผลสอบ O-NET ตั้งแต่ 50 คะแนนขึ้นไป X 100 จำนวนนักเรียนที่สอบทั้งหมด * ทั้งนี้คำนวณทีละวิชา

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

ผลการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
:๓.๓ - การศึกษาสำหรับทุกคน
:๓.๓.๒ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา%
:๓.๓.๒.๑ โรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานครมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลัก

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง