รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

5.2(องค์ประกอบที่5)ร้อยละความสำเร็จในการพัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูลหรือการให้บริการ(ฝ่ายปกครอง) : 5009-0963

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00
100
100 / 100
2
100.00
95
95 / 100
3
100.00
100
100 / 100
4
100.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ในไตรมาสที่ 1 สำนักงานเขตห้วยขวางได้ดำเนินการขั้นตอนที่ 1 ตามที่สยป.กำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

นไตรมาสที่ 2 ได้ดำเนินการตามกรอบธรรมาภิบาล 1. จัดทำพจนานุกรมข้อมูล (data dictionary) 2. จัดทำคำอธิบายข้อมูล (metadata) ตามแบบฟอร์มที่กำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ไตรมาสที่ 3 สำนักงานเขตห้วยขวางได้ดำเนินการในขั้นตอนที่ 4 โดยการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงานซึ่งมีหลักฐานเป็นที่ประจักษ์และสามารถตรวจสอบได้อย่างเป็นรูปธรรม ทั้งนี้ได้ดำเนินการจัดส่งหนังสือราชการให้สยป. พิจารณา (กท 4810/3336 ลงวันที่ 25 มิถุนายน 2564 เรื่อง ส่งเอกสารการดำเนินการตามตัวชี้วัด 5.2 ร้อยละความสำเร็จในการพัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูล

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ไตรมาสที่ 4 สำนักงานเขตห้วยขวางได้ดำเนินการครบแล้ว ทั้งหมด 5 ขั้นตอนและเตรียมความพร้อมรับการตรวจประเมินฯ(ระยะสิ้นปีงบฯ)ต่อไป ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ดำเนินการตามกรอบธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ (Data Governance Framework) ภายใน 30 ธ.ค. 63 1. แต่งตั้งคณะทำงานกำกับดูแลข้อมูลระดับหน่วยงาน 2. จัดทำบัญชีรายการข้อมูล (data catalog) 3. กำหนดผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและผู้เกี่ยวข้องกับข้อมูลของหน่วยงาน 4. พัฒนาฐานข้อมูลใหม่จำนวน 1 เรื่อง มาพัฒนาเป็นฐานข้อมูลของหน่วยงาน (ผู้สูงอายุที่เป็นผู้ป่วยติดเตียงในพื้นที่) ขั้นตอนที่ 2 (ภายใน 31 มี.ค. 64) 1. จัดทำพจนานุกรมข้อมูล (data dictionary) 2. จัดทำคำอธิบายข้อมูล (metadata) โดยจัดทำตามแบบฟอร์มที่กำหนด ขั้นตอนที่ 3 มีการนำเข้าข้อมูลและปรับปรุงข้อมูลให้มีคุณภาพเป็นปัจจุบันอย่างสม่ำเสมอ (เริ่มตั้งแต่ เม.ย. 64) ขั้นตอนที่ 4 มีการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงานโดยมีหลักฐานเป็นที่ประจักษ์และสามารถตรวจสอบได้อย่างเป็นรูปธรรม (ภายใน มิ.ย. 64) ขั้นตอนที่ 5 มีการให้บริการหรือเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานของกรุงเทพมหานครและ/หรือหน่วยงานภายนอกด้วยระบบออนไลน์และ/หรือมีการเผยแพร่ต่อสาธารณะ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

ข้อมูล หมายความว่า สิ่งที่สื่อความหมายให้รู้เรื่องราวข้อเท็จจริงหรือเรื่องอื่นใด ไม่ว่าการสื่อความหมายนั้นจะท าได้โดยสภาพของสิ่งนั้นเองหรือโดยผ่านวิธีการใดๆ และไม่ว่าจะได้จัดท าไว้ในรูปของ เอกสาร แฟ้ม รายงาน หนังสือ แผนผัง แผนที่ ภาพวาด ภาพถ่าย ภาพถ่ายดาวเทียมฟิล์ม การบันทึกภาพหรือเสียง การบันทึกโดยเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องมือตรวจวัด การส ารวจระยะไกล หรือวิธีอื่นใดที่ท าให้สิ่งที่บันทึกไว้ปรากฏได้ ชุดข้อมูล หมายความว่า การน าข้อมูลจากหลายแหล่งมารวบรวม เพื่อจัดเป็นชุดให้ตรงตามลักษณะโครงสร้างของข้อมูล บัญชีรายการข้อมูล หมายความว่า เอกสารแสดงบรรดารายการของชุดข้อมูล ที่จ าแนกแยกแยะโดยการจัดกลุ่มหรือจัดประเภทข้อมูลที่อยู่ในความครอบครองหรือควบคุมของหน่วยงาน ฐานข้อมูล (Database) หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่ถูกเก็บรวบรวมไว้ โดยมีความสัมพันธซึ่งกันและกัน โดยไม่ได้บังคับว่าข้อมูลทั้งหมดนี้จะต้องเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูล (Data file) เดียวกันหรือแยกเก็บ หลายๆ แฟ้มข้อมูล (Data file)

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

ส่วนที่ 1 รักษาสถานภาพฐานข้อมูลของหน่วยงานที่ด้าเนินการในปีงบประมาณพ.ศ. 2563 ส่วนที่ 2 พัฒนาและจัดเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลที่มีความส้าคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

1. รักษาสถานะภาพฐานข้อมูลของหน่วยงานที่ด าเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563ตรวจสอบ การน าเข้าข้อมูล ที่ถูกต้อง ครบถ้วน ข้อมูลเป็นปัจจุบันในระบบเดิมที่ด าเนินการในปีที่ผ่านมาตามที่ก าหนดในแผนพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานตามที่ได้ตกลงกับคณะกรรมการก ากับฐานข้อมูลที่ส านักยุทธศาสตร์และประเมินผลก าหนด 2. การพัฒนาและจัดเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลที่มีความส าคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการตรวจสอบจากแบบรายงานที่ก าหนด และฐานข้อมูลที่หน่วยงานพัฒนาขึ้น 3.รายงานผลการด าเนินการตามตัวชี้วัดที่ 5.2 ซึ่งหน่วยงานรายงานความก้าวหน้าของตัวชี้วัดโครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนด าเนินการตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติราชการประจ าปีระบบการบริหารจัดการแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร (BMA Digital Plans) และ BMA Monitor Application ต้องรายงานข้อมูลผลการด าเนินงานผ่านระบบการบริหารจัดการแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร (BMA Digital Plans) ให้ถูกต้อง สมบูรณ์ และเป็นปัจจุบัน อย่างสม่ าเสมอตามรอบระยะเวลาที่ส านักยุทธศาสตร์ และประเมินผลก าหนด

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
:๗.๕ - เทคโนโลยีสารสนเทศ
:๗.๕.๑ กรุงเทพมหานครให้บริการประชาชนด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องและโปร่งใส โดยประยุกต์%
:๗.๕.๑.๓ โครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีประสิทธิภาพ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง