รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

พื้นที่เสี่ยงภัยได้รับการลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม : 5010-0960

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00
100
100 / 0
2
100.00
0
0 / 0
3
100.00
100
100 / 100
4
0.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ฝ่ายเทศกิจ ประสานฝ่ายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องดำเนินการดังนี้ 1 การดูแลตัดต้นไม้ ฝ่ายรักษาฯ 2 การติดตั้งไฟฟ้าและซ่อมแซมกล้องวงจรปิด ฝ่ายโยธา 3 รวบรวมผลการดำเนินงานแก้ไข จุดเสี่ยงภัยภายในวันที่ 7 ของเดือน การเฝ้าระวังและตรวจตราจุดเสี่ยงภัย 1 จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม มีการตรวจตรา 2 ครั้ง/วัน/จุด 2 จุดเสี่ยงภัยที่ติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) มีการตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้อง 1 ครั้ง/วันจุด หากพบว่าชำรุดให้จัดทำหนังสือประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. ประสานสน.ในพื้นที่เกี่ยวกับสถิติการเกิดคดีอาชญากรรมบริเวณพื้นที่เสี่ยง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ฝ่ายเทศกิจ ประสานฝ่ายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องดำเนินการดังนี้ 1 การดูแลตัดต้นไม้ ฝ่ายรักษาฯ 2 การติดตั้งไฟฟ้าและซ่อมแซมกล้องวงจรปิด ฝ่ายโยธา 3 รวบรวมผลการดำเนินงานแก้ไข จุดเสี่ยงภัยภายในวันที่ 7 ของเดือน การเฝ้าระวังและตรวจตราจุดเสี่ยงภัย 1 จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม มีการตรวจตรา 2 ครั้ง/วัน/จุด 2 จุดเสี่ยงภัยที่ติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) มีการตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้อง 1 ครั้ง/วันจุด หากพบว่าชำรุดให้จัดทำหนังสือประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. ประสานสน.ในพื้นที่เกี่ยวกับสถิติการเกิดคดีอาชญากรรมบริเวณพื้นที่เสี่ยง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ฝ่ายเทศกิจ ประสานฝ่ายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องดำเนินการดังนี้ 1 การดูแลตัดต้นไม้ ฝ่ายรักษาฯ 2 การติดตั้งไฟฟ้าและซ่อมแซมกล้องวงจรปิด ฝ่ายโยธา 3 รวบรวมผลการดำเนินงานแก้ไข จุดเสี่ยงภัยภายในวันที่ 7 ของเดือน การเฝ้าระวังและตรวจตราจุดเสี่ยงภัย 1 จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม มีการตรวจตรา 2 ครั้ง/วัน/จุด 2 จุดเสี่ยงภัยที่ติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) มีการตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้อง 1 ครั้ง/วันจุด หากพบว่าชำรุดให้จัดทำหนังสือประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. ประสานสน.ในพื้นที่เกี่ยวกับสถิติการเกิดคดีอาชญากรรมบริเวณพื้นที่เสี่ยง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

พื้นที่เสี่ยงภัย หมายถึง พื้นที่ที่มีความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรมกับประชาชน เงื่อนไขและปัจจัยต่อการเกิดอาชญากรรม หมายถึง เหตุ/ช่องทาง สิ่งต่างๆ ที่อาจทำให้เกิดเหตุอาชญากรรม การลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม หมายถึง การปรับแก้ไขหรือการเพิ่มเติมสภาพแวดล้อมพื้นที่ เช่นการซ่อมแซม หรือการติดตั้ง

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

1. การแก้ไขหรือการปรับสภาพแวดล้อม 2. การเฝ้าระวังหรือตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัย 3. การรายงานผลการดำเนินงานประจำเดือน

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

ฝ่ายเทศกิจ ประสานฝ่ายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องดำเนินการดังนี้ 1 การดูแลตัดต้นไม้ ฝ่ายรักษาฯ 2 การติดตั้งไฟฟ้าและซ่อมแซมกล้องวงจรปิด ฝ่ายโยธา 3 รวบรวมผลการดำเนินงานแก้ไขจุดเสี่ยงภัยภายในวันที่ 7 ของเดือน การเฝ้าระวังและตรวจตราจุดเสี่ยงภัย 1 จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมมีการตรวจตรา 2 ครั้ง/วัน/จุด 2 จุดเสี่ยงภัยที่ติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) มีการตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้อง 1 ครั้ง/วันจุด หากพบว่าชำรุดให้จัดทำหนังสือประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. ประสานสน.ในพื้นที่เกี่ยวกับสถิติการเกิดคดีอาชญากรรมบริเวณพื้นที่เสี่ยง

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด
:๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน%
:๑.๒.๑.๑ เสริมสร้างความปลอดภัยเพื่อลดความล่อแหลมของสภาพแวดล้อมต่อการก่อ อาชญากรรม

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง