ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 80
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
1.จัดทำโครงการและแผนการดำเนินงาน 2. ตรวจสถานประกอบการและสุ่มเก็บตัวอย่างอาหาร 3. สอบผู้สัมผัสอาหาร 4. ดำเนินการให้ความรู้เกี่ยวกับอาหารปลอดภัยแก่สถานประกอบการ ซูเปอร์มาร์เก็ต จำนวน 2 แห่ง 5. ตรวจสถานประกอบการจำหน่ายอาหารและสะสมอาหาร 6. ตรวจสอบสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียนนอกสังกัดกรุงเทพมหานคร 7. ดำเนินการตรวจด้านสุขลักษณะและตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารตามสถานประกอบการอาหารกลุ่มเป้าหมาย 8. ดำเนินการส่งเสริมให้ผู้ประกอบการ/ผู้สัมผัสอาหารผ่านการอบรมหลักสูตรการสุขาภิบาลอาหารของกรุงเทพมหานคร ตามแนวทางการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Study)
1.ดำเนินการตรวจประเมินด้านสุขลักษณะสถานประกอบการเป้าหมาย และตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหาร ได้แก่ สารกันรา สารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน สารฟอกขาว ฯลฯ 2. ส่งเสริมการอบรมหลักสูตรสุขาภิบาลอาหารของกรุงเทพมหานคร ตามแนวทางการเรียนรู้ตามแนวทางการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Study) 3.ดำเนินการตรวจสถานประกอบการด้านกายภาพและสุ่มตรวจตัวอย่างอาหารด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น ผ่านตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด ตามมาตรฐานอาหารปลอดภัย
1.ดำเนินการตรวจประเมินด้านสุขลักษณะสถานประกอบการเป้าหมาย และตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหาร ได้แก่ สารกันรา สารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน สารฟอกขาว ฯลฯ 2. ส่งเสริมการอบรมหลักสูตรสุขาภิบาลอาหารของกรุงเทพมหานคร ตามแนวทางการเรียนรู้ตามแนวทางการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Study) 3.ดำเนินการตรวจสถานประกอบการด้านกายภาพและสุ่มตรวจตัวอย่างอาหารด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น ผ่านตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด ตามมาตรฐานอาหารปลอดภัย
1.ดำเนินการตรวจประเมินด้านสุขลักษณะสถานประกอบการเป้าหมาย และตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหาร ได้แก่ สารกันรา สารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน สารฟอกขาว ฯลฯ 2. ส่งเสริมการอบรมหลักสูตรสุขาภิบาลอาหารของกรุงเทพมหานคร ตามแนวทางการเรียนรู้ตามแนวทางการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Study) 3.ดำเนินการตรวจสถานประกอบการและโรงเรียนในพื้นที่เขตบางกะปิด้านกายภาพและสุ่มตรวจตัวอย่างอาหารด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น ผ่านตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด ตามมาตรฐานอาหารปลอดภัย 4. ดำเนินงานแล้วเสร็จตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
๑. สถานประกอบการอาหาร หมายถึง สถานที่จำหน่ายอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ตและมินิมาร์ท ในพื้นที่ ๕๐ เขต ที่ได้รับใบอนุญาตหรือหนังสือรับรองการแจ้งตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข ๒. เกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร หมายถึง เกณฑ์ที่ใช้ตรวจประเมินสถานประกอบการอาหารเพื่อขอรับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ประกอบด้วย ๓ องค์ประกอบหลัก ได้แก่ ด้านอาคารสถานที่ ด้านความปลอดภัยของอาหาร และด้านบุคลากรผู้สัมผัสอาหาร ๓. ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร หมายถึง ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมสนับสนุนให้สถานประกอบการอาหารสามารถพัฒนาเพื่อยกระดับมาตรฐานสถานประกอบการอาหารให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร
จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครคูณด้วย ๑๐๐ หารด้วยจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดในพื้นที่เขต
สถานประกอบการในพื้นที่เขตบางกะปิ
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
:๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน% |
:๑.๖.๕.๑ ควบคุม กำกับ ดูแล ให้สถานประกอบการอาหาร เตรียม ประกอบปรุง และจำหน่ายอาหารถูกสุขลักษณะ |