รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

พื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น : 5011-0950

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00
100
100 / 100
2
30.00
100
100 / 100
3
70.00
0
0 / 0
4
100.00
0
0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างดำเนินจัดซื้อจัดจ้าง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- ได้รับงบประมาณงวดที่ 2 เมื่อวันที่ 25 มี.ค. 64 อยู่ระหว่างกำหนดรายละเอียดต่างๆ ใน การจัดซื้อ - พื้นที่ดำเนินการ ได้แก่ เกาะกลางถนนหัวหมาก ตั้งแต่ปากซอยหัวหมาก 20 ถึงปากซอยหัวหมาก 12 ระยะทางยาวประมาณ 600 เมตร พื้นที่ดำเนินการ 3,000 ตารางเมตร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

วันที่ 25 มิ.ย.64 มีการส่งของและดำเนินการตรวจรับพัสดุ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

พื้นที่ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียว ได้แก่ 1. พื้นที่ตามโครงการบำรุงรักษา ปรับปรุงและเพิ่มพื้นที่สีเขียว บริเวณเกาะกลางถนนหัวหมาก ตั้งแต่ปากซอยหัวหมาก 20 ถึงปากซอยหัวหมาก 12 ระยะทางยาวประมาณ 600 เมตร รวมพื้นที่ 3,000 ตารางเมตร (1 ไร่ 3 งาน 50 ตรว.) 2. เพิ่มพื้นที่สีเขียวโดยเอกชน ได้แก่ - คอนโด IDEO พระราม 9 จำนวน 1 ไร่ 2 งาน 50 ตรว. - โครงการเดอะลีฟวื่ง รามคำแหง จำนวน 3 ไร่ 3 งาน 60 ตรว. รวมพื้นที่สีเขียวที่ดำเนินการแล้ว จำนวน 7 ไร่ 1 งาน 60 ตรว. คิดเป็น ร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

พื้นที่สีเขียวหมายถึง พื้นที่สีเขียวตามที่กำหนดไว้ใน “ฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร” ประกอบด้วย 10 ประเภทแยกเป็น 2 ประเภทหลัก คือ 1. พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม ให้สำนักงานเขตดำเนินการตามเป้าหมายที่ตกลงกับสำนักงานสวนสาธารณะ สำนักสิ่งแวดล้อมในแต่ละปี 2. พื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรปูแบบสวนสาธารณะซึ่งต้องดำเนินการสำรวจ รวบรวมเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 12 แห่ง/ปี

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

1. กำหนดให้พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม และพื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะ คิดคะแนนประเภทละ 100 % รวม 200% 2. เฉลี่ยผลลัพธ์ตามข้อ 1 ให้เหลือร้อยละ 100 3. นำผลที่ได้จากข้อ 2 พิจารณาในส่วนความสมบูรณ์ของข้อมูลใน 3 ส่วนคือ 1) รายละเอียดพื้นที่สีเขียวแต่ละแห่ง 2) ที่ตั้ง 3) ภาพถ่ายทั้งนี้หักข้อละ 1 % ของคะแนนที่ได้รับ 4. หลังจากตัดคะแนนในส่วนความสมบูรณ์จะเป็นคะแนนที่ได้ของแต่ละ สำนักงานเขต

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

พิจารณาผลสัมฤทธิ์การดำเนินการจาก “โปรแกรมฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร” เท่านั้น

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
:๒.๒ - มีพื้นที่สาธารณะ พื้นที่สีเขียวกระจายทั่วทุกพื้นที่
:๒.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นมหานครที่ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ มีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนเพียงพ%
:๒.๒.๑.๑ พัฒนาพื้นที่สีเขียวสำหรับพักผ่อนหย่อนใจและสร้างความร่มรื่นเพิ่มขึ้นกระจาย ทั่วในพื้นที่

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง