รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

(งานเชิงยุทธศาสตร์)1.จำนวนครั้งของการตรวจพื้นที่กวดขันพิเศษ 2.ประชาชนที่ใช้ทางเท้าบริเวณจุดกวดขันพิเศษมีความพึงพอใจต่อการตรวจจุดกวดขันพิเศษ : 5012-0884

ค่าเป้าหมาย ค่าเฉลี่ย : 3.51

ผลงานที่ทำได้ ค่าเฉลี่ย : 10

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ค่าเฉลี่ย)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
10.00
100
100 / 100
2
100.00
100
100 / 100
3
100.00
100
100 / 100
4
4.71
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติต่อผู้อำนวยการเขต และวางแผนการดำเนินการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- ผลการดำเนินการ ประจำเดือน ดังนี้ ควบคุมผู้ค้าไม่ให้ตั้งวาง จำหน่ายสินค้าบริเวณพื้นที่กวดพิเศษโดยเด็ดขาด จำนวน 5 จุด ได้แก่ 1. บริเวณปากซอยพหลโยธิน 55 2. บริเวณหน้าห้างสรรพสินค้าบิ๊กซี ถนนพหลโยธิน 3. บริเวณหน้าตลาดยิ่งเจริญ ถนนพหลโยฺธิน 4. บริเวณหน้าตลาดปั้นทอง ถนนรามอินทรา กม.4 5. บริเวณหน้ามหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร ถนนแจ้งวัฒนะ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- ผลการดำเนินการ ประจำเดือน ดังนี้ ควบคุมผู้ค้าไม่ให้ตั้งวาง จำหน่ายสินค้าบริเวณพื้นที่กวดพิเศษโดยเด็ดขาด จำนวน 5 จุด ได้แก่ 1. บริเวณปากซอยพหลโยธิน 55 2. บริเวณหน้าห้างสรรพสินค้าบิ๊กซี ถนนพหลโยธิน 3. บริเวณหน้าตลาดยิ่งเจริญ ถนนพหลโยฺธิน 4. บริเวณหน้าตลาดปั้นทอง ถนนรามอินทรา กม.4 5. บริเวณหน้ามหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร ถนนแจ้งวัฒนะ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ผลการดำเนินการ ประจำเดือน ดังนี้ ควบคุมผู้ค้าไม่ให้ตั้งวาง จำหน่ายสินค้าบริเวณพื้นที่กวดพิเศษโดยเด็ดขาด จำนวน 5 จุด ได้แก่ 1. บริเวณปากซอยพหลโยธิน 55 2. บริเวณหน้าห้างสรรพสินค้าบิ๊กซี ถนนพหลโยธิน 3. บริเวณหน้าตลาดยิ่งเจริญ ถนนพหลโยฺธิน 4. บริเวณหน้าตลาดปั้นทอง ถนนรามอินทรา กม.4 5. บริเวณหน้ามหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร ถนนแจ้งวัฒนะ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

นิยาม 1. จุดกวดขันพิเศษ หมายถึง พื้นที่ห้ามฝ่าฝืนตั้งวางจำ หน่วยสินค้าโดยเด็ดขาดในบริเวณ ดังนี้ ผิวจราจร ป้ายรถโดยสาร สะพานลอยหรือทางขึ้นลงรถไฟฟ้า ทางขึ้นลงทางม้าลาย โดยรอบตู้โทรศัพท์สาธารณะ หากมีมากกว่า 1 บริเวณ เช่น มีทั้งผิวจราจรและป้ายรถโดยสารอยู่ด้วยกันให้นับเป็น 1 จุด 2. ความพึงพอใจ หมายถึง ความพึงพอใจหรือความรู้สึกเชิงบวกที่ประชาชนที่ใช้ทางเท้าบริเวณพื้นที่กวดขันพิเศษ มีในระดับมากต่อการปฏิบัติงานตรวจพื้นที่กวดขันพิเศษของเจ้าหน้าที่เทศกิจ

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

1.จำนวนครั้งของการตรวจจุดกวดขันพิเศษ 2.การวิเคราะห์ความพึงพอใจ ของผู้รับบริการฯใช้เกณฑ์ดังนี้ มากที่สุด เท่ากับ 5.00 มาก เท่ากับ 4.00 ปานกลาง เท่ากับ 3.00 น้อย เท่ากับ 2.00 น้อยที่สุด เท่ากับ 1.00 หน่วย ค่าเฉลี่ยระดับที่คาดหวัง วิธีการคำนวณ ((A*5)+(B*4)+(C*3)+(D*2)+(E*1))/T A = จำนวนผู้ตอบระดับมากที่สุดคูณ 5 B = จำนวนผู้ตอบระดับมากคูณ 4 C = จำนวนผู้ตอบระดับปานกลางคูณ 3 D = จำนวนผู้ตอบระดับน้อยคูณ 2 E = จำนวนผู้ตอบระดับน้อยที่สุดคูณ 1 T = จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมดคูณ 5 สูตรการหาค่าเฉลี่ย = A + B + C + D + E T คำนวณค่าโดยใช้สถิติ (ค่าเฉลี่ย) โดยกำหนดใช้ 5 ระดับ คือ - ค่าเฉลี่ยเกินกว่า 4.51 – 5.00 หมายถึง มากที่สุด - ค่าเฉลี่ยเกินกว่า 3.51 – 4.50 หมายถึง มาก - ค่าเฉลี่ยเกินกว่า 2.51 – 3.50 หมายถึง ปานกลาง - ค่าเฉลี่ยเกินกว่า 1.51 – 2.50 หมายถึง น้อย - ค่าเฉลี่ยเกินกว่า 1.00 – 1.50 หมายถึง น้อยที่สุด -จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด X จำนวน (ข้อ) 10 ตัวอย่าง เช่น 50 คน = 50 X 10 = 500 คะแนนรวมทั้งหมด = 2,023 =4.046 500 คิดค่าเฉลี่ย 4.046x100 = 80.92 5 สรุปผล คะแนนความพึงพอใจ เฉลี่ย เท่ากับ 4.046 คะแนน

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

-ดำเนินการทอดแบบความพึงพอใจหรือความรู้สึกเชิงบวกที่ประชาชนที่ใช้ทางเท้าบริเวณพื้นที่กวดขันพิเศษ มีในระดับมากต่อการปฏิบัติงานตรวจพื้นที่กวดขันพิเศษของเจ้าหน้าที่เทศกิจ

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
:๒.๑ - ภูมิทัศน์สวยงาม
:๒.๑.๑ กรุงเทพมหานครจัดระเบียบเมือง ปรับปรุงทัศนียภาพของเมืองให้แลดูสะอาด ไม่มีสายไฟฟ้า%
:๒.๑.๑.๑ ตลาดหรือแผงค้าขายที่กีดขวางทางเท้า กีดขวางการจราจรและบดบังทัศนียภาพ ได้รับการจัดระเบียบได้ครบทุกกลุ่มเขต

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง