รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

-จำนวนครั้งในการฝึกซ้อมการปฏิบัติการตามแผนป้องกันและบรรเทาภัยด้านสาธารณภัย และ ด้านความมั่นคง(ผลผลิต) -ระดับความพึงพอใจ ต่อการฝึกซ้อมการปฏิบัติการตามแผนป้องกันและบรรเทาภัยด้านสาธารณภัยและ ด้านความมั่นคง (ผลลัพธ์) : 5012-0927

ค่าเป้าหมาย อย่างน้อย 2 ครั้ง/ปี : 3

ผลงานที่ทำได้ อย่างน้อย 2 ครั้ง/ปี : 0

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(อย่างน้อย 2 ครั้ง/ปี)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00
90
90 / 100
2
0.00
100
100 / 100
3
0.00
100
100 / 100
4
0.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ร่วมฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ จำนวน 1 ครั้ง เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2563 ณ บริษัท โทโรซินเทเนติคส์ แขวงท่าแร้ง เขตบางเขน กทม.

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

อยู่ระหว่างการประสานวิทยากรในการฝึกซ้อมอพยพหนีไฟประจำปี งบประมาณ พ.ศ.2564 ภายในสำนักงานเขต กำหนดเดือนเมษายน 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

งดการดำเนินกิจกรรมเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสติดเชื้อโคโรน่า-2019

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

งดการดำเนินกิจกรรมเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสติดเชื้อโคโรน่า-2019

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

นิยาม/คำอธิบาย การซักซ้อมตามแผนฯ หมายถึง 1. ดำเนินการซักซ้อมการปฏิบัติการตามแผนฯ ภายในสำนักงานเขตเองอย่างน้อย 1 ครั้ง (ภายในปีงบประมาณ) 2. ดำเนินการซักซ้อมการปฏิบัติการตามแผนฯ ร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนในพื้นที่อย่างน้อย 2 ครั้ง (ภายในปีงบประมาณ) โดยมีเจ้าหน้าที่ของสำนักงานเขตเข้าร่วมด้วย ความพึงพอใจ หมายถึง ความพึงพอใจของต่อการฝึกซ้อมตามแผนป้องกันและบรรเทาเหตุอัคคีภัย สาธารณภัย และการก่อการร้าย เป้าหมาย 1.อย่างน้อย 2 ครั้ง/ปี 2.ความพึงพอใจระดับมาก หรือค่าคะแนนเฉลี่ย เกินกว่า 3.51 – 4.50

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

วิธีการคำนวณ ระดับความพึงพอใจต่อการฝึกซ้อมการปฏิบัติการตามแผนป้องกันและบรรเทาภัยด้านสาธารณภัยฯ การวิเคราะห์ความพึงพอใจ ของผู้รับบริการฯใช้เกณฑ์ดังนี้ มากที่สุด เท่ากับ 5.00 มากเท่ากับ 4.00 ปานกลาง เท่ากับ3.00 น้อยเท่ากับ 2.00 น้อยที่สุด เท่ากับ 1.00 หน่วย ค่าเฉลี่ยระดับที่คาดหวัง วิธีการคำนวณ ((A*5)+(B*4)+(C*3)+(D*2)+(E*1))/T A = จำนวนผู้ตอบระดับมากที่สุดคูณ 5 B = จำนวนผู้ตอบระดับมากคูณ 4 C = จำนวนผู้ตอบระดับปานกลางคูณ 3 D = จำนวนผู้ตอบระดับน้อยคูณ 2 E = จำนวนผู้ตอบระดับน้อยที่สุดคูณ 1 T = จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมดคูณ 5 สูตรการหาค่าเฉลี่ย = A + B + C + D + E T คำนวณค่าโดยใช้สถิติ (ค่าเฉลี่ย) โดยกำหนดใช้ 5 ระดับ คือ - ค่าเฉลี่ยเกินกว่า 4.51 – 5.00 หมายถึง มากที่สุด - ค่าเฉลี่ยเกินกว่า 3.51 – 4.50 หมายถึง มาก - ค่าเฉลี่ยเกินกว่า 2.51 – 3.50 หมายถึง ปานกลาง - ค่าเฉลี่ยเกินกว่า 1.51 – 2.50 หมายถึง น้อย - ค่าเฉลี่ยเกินกว่า 1.00 – 1.50 หมายถึง น้อยที่สุด

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

ฝ่ายปกครอง

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๓ - ปลอดอุบัติเหตุ
:๑.๓.๑ ลดความสูญเสียจากอุบัติเหตุจราจร%
:๑.๓.๑.๑ ปรับปรุงสภาพถนนและจุดเสี่ยงอันตราย

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง