รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ระดับความสำเร็จของคลองในพื้นที่ กรุงเทพมหานครได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่ : 5012-6501

ค่าเป้าหมาย 1 คลอง : 1

ผลงานที่ทำได้ 1 คลอง : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(1 คลอง)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00
80
80 / 100
2
100.00
100
100 / 100
3
100.00
100
100 / 100
4
100.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ผลการดำเนินการตุลาคม -ธันวาคม 2563 1.สำรวจและรวบรวมข้อมูลสภาพทั่วไปของคลอง 2.จัดทำแผนพัฒนาคลองเป้าหมายจำนวน 1 คลองได้แก่คลองลาดพร้าว 3.ดำเนินการพัฒนาคลองลาดพร้าว โดยปรับปรุงภูมิทัศน์ริมคลอง ทาสีราวเหล็กกันตก ปรับปรุงสะพานข้ามคลอง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ผลการดำเนินการมกราคม -มีนาคม 2564 องค์ประกอบที่ 1 ความสวยงาม 1.คลองมีการพัฒนาสถานที่พักผ่อน จุดชมวิวทิวทัศน์และสร้างจุดเช็คอิน อย่างน้อยเขตละ 1 จุด/คลอง -มีการสร้างจุดเช็คอิน 1 จุด ได้แก่ บริเวณวัดบางบัว -มีการสร้างสถานที่พักผ่อนริมคลอง 1 จุด บริเวณสวนสาธารณะ ริมถนนผลาสินธุ์ 2. ประชาชนมีส่วนร่วมในการปรับปรุงภูมิทัศน์ริมคลองให้เกิดความสวยงาม -ทาสีราวสะพานริมคลองทางเดิน ตั้งแต่คลองหลุมไผ่ถึงวัดบางบัว ระยะทางประมาณ 900 เมตร องค์ประกอบที่ 2 ด้านความสะอาด 2.1 ขยะในชุมชนริมคลองได้รับการบริหารจัดการอย่างเหมาะสมเพื่อไม่ให้ประชาชนมีการทิ้งขยะลงในคลอง -มีการประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ -ผ่านทางเว็บไซด์หน่วยงาน / Facebook / Line ชุมชนและการจัดทำแผ่นพับประชาสัมพันธ์ -มีการจัดกิจกรรม ประกอบด้วย -เดินรณรงค์ให้ความรู้กับชุมชน เรื่อง การบริหารจัดการขยะ และไม่ทิ้งขยะลงคลอง -การจัดทำประกาศรณรงค์การไม่ทิ้งขยะลงคู คลอง แหล่งน้ำ 2.2 สร้างเครือข่ายในการอนุรักษ์ คู คลอง แหล่งน้ำ อย่างน้อย 5 เครือข่าย 2.3 จัดกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาความสะอาด ริมคลอง องค์ประกอบที่ 3 ด้านความปลอดภัย 3.1 เส้นทางริมคลองมีแสงสว่างอย่างเหมาะสมในเวลากลางคืน -มีการสำรวจสถานที่เพื่อติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณทางเดินริมคลอง -มีการประสานการฟ้านครหลวงเพื่อติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณทางเดินริมคลองตามที่ได้มีการสำรวจ 3.2 ติดตั้งอุปกรณ์ตรวจเฝ้าระวังการกระทำผิดในบริเวณพื้นที่สาธารณะในพื้นที่ที่กำหนด -สำรวจสถานที่เพื่อติดตั้งกล้องวงจรปิด CCTV จำนวน 3 จุด 3.2.1 บริเวณสวนสาธารณะผลาสินธุ์ จำนวน 1 จุด 3.2.2 บริแวณชุมชนสามัคคีรร่วมใจ จำนวน 1 จุด 3.2.3 บริเวณชุมชนบางบัว จำนวน 1 จุด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ผลการดำเนินการตั้งแต่เดือนเมษายน -มิถุนายน 2564 องค์ประกอบที่ 1 ความสวยงาม 1.คลองมีการพัฒนาสถานที่พักผ่อน จุดชมวิวทิวทัศน์และสร้างจุดเช็คอิน อย่างน้อยเขตละ 1 จุด/คลอง -มีการสร้างจุดเช็คอิน 1 จุด ได้แก่ บริเวณวัดบางบัว -มีการสร้างสถานที่พักผ่อนริมคลอง 1 จุด บริเวณสวนสาธารณะ ริมถนนผลาสินธุ์ 2. ประชาชนมีส่วนร่วมในการปรับปรุงภูมิทัศน์ริมคลองให้เกิดความสวยงาม -ทาสีราวสะพานริมคลองทางเดิน ตั้งแต่คลองหลุมไผ่ถึงวัดบางบัว ระยะทางประมาณ 900 เมตร องค์ประกอบที่ 2 ด้านความสะอาด 2.1 ขยะในชุมชนริมคลองได้รับการบริหารจัดการอย่างเหมาะสมเพื่อไม่ให้ประชาชนมีการทิ้งขยะลงในคลอง -มีการประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ -ผ่านทางเว็บไซด์หน่วยงาน / Facebook / Line ชุมชนและการจัดทำแผ่นพับประชาสัมพันธ์ -มีการจัดกิจกรรม ประกอบด้วย -เดินรณรงค์ให้ความรู้กับชุมชน เรื่อง การบริหารจัดการขยะ และไม่ทิ้งขยะลงคลอง -การจัดทำประกาศรณรงค์การไม่ทิ้งขยะลงคู คลอง แหล่งน้ำ 2.2 สร้างเครือข่ายในการอนุรักษ์ คู คลอง แหล่งน้ำ อย่างน้อย 5 เครือข่าย 2.3 จัดกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาความสะอาด ริมคลอง องค์ประกอบที่ 3 ด้านความปลอดภัย 3.1 เส้นทางริมคลองมีแสงสว่างอย่างเหมาะสมในเวลากลางคืน -มีการสำรวจสถานที่เพื่อติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณทางเดินริมคลอง -มีการประสานการฟ้านครหลวงเพื่อติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณทางเดินริมคลองตามที่ได้มีการสำรวจ 3.2 ติดตั้งอุปกรณ์ตรวจเฝ้าระวังการกระทำผิดในบริเวณพื้นที่สาธารณะในพื้นที่ที่กำหนด -สำรวจสถานที่เพื่อติดตั้งกล้องวงจรปิด CCTV จำนวน 3 จุด 3.2.1 บริเวณสวนสาธารณะผลาสินธุ์ จำนวน 1 จุด 3.2.2 บริแวณชุมชนสามัคคีรร่วมใจ จำนวน 1 จุด 3.2.3 บริเวณชุมชนบางบัว จำนวน 1 จุด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ผลการดำเนินการตั้งแต่เดือนกรกฎาคม -กันยายน 2564 องค์ประกอบที่ 1 ความสวยงาม 1.คลองมีการพัฒนาสถานที่พักผ่อน จุดชมวิวทิวทัศน์และสร้างจุดเช็คอิน อย่างน้อยเขตละ 1 จุด/คลอง -มีการสร้างจุดเช็คอิน 2 จุด ได้แก่ บริเวณวัดบางบัว และชุมชนบางบัว -มีการสร้างสถานที่พักผ่อนริมคลอง 1 จุด บริเวณสวนสาธารณะ ริมถนนผลาสินธุ์ 2. ประชาชนมีส่วนร่วมในการปรับปรุงภูมิทัศน์ริมคลองให้เกิดความสวยงาม -ทาสีราวสะพานริมคลองทางเดิน ตั้งแต่คลองหลุมไผ่ถึงวัดบางบัว ระยะทางประมาณ 900 เมตร องค์ประกอบที่ 2 ด้านความสะอาด 2.1 ขยะในชุมชนริมคลองได้รับการบริหารจัดการอย่างเหมาะสมเพื่อไม่ให้ประชาชนมีการทิ้งขยะลงในคลอง -มีการประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ -ผ่านทางเว็บไซด์หน่วยงาน / Facebook / Line ชุมชนและการจัดทำแผ่นพับประชาสัมพันธ์ -มีการจัดกิจกรรม ประกอบด้วย -เดินรณรงค์ให้ความรู้กับชุมชน เรื่อง การบริหารจัดการขยะ และไม่ทิ้งขยะลงคลอง -การจัดทำประกาศรณรงค์การไม่ทิ้งขยะลงคู คลอง แหล่งน้ำ 2.2 สร้างเครือข่ายในการอนุรักษ์ คู คลอง แหล่งน้ำ อย่างน้อย 5 เครือข่าย 2.3 จัดกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาความสะอาด ริมคลอง องค์ประกอบที่ 3 ด้านความปลอดภัย 3.1 เส้นทางริมคลองมีแสงสว่างอย่างเหมาะสมในเวลากลางคืน -มีการสำรวจสถานที่เพื่อติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณทางเดินริมคลอง -มีการประสานการฟ้านครหลวงเพื่อติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณทางเดินริมคลองตามที่ได้มีการสำรวจ 3.2 ติดตั้งอุปกรณ์ตรวจเฝ้าระวังการกระทำผิดในบริเวณพื้นที่สาธารณะในพื้นที่ที่กำหนด -สำรวจสถานที่เพื่อติดตั้งกล้องวงจรปิด CCTV จำนวน 3 จุด 3.2.1 บริเวณสวนสาธารณะผลาสินธุ์ จำนวน 1 จุด 3.2.2 บริแวณชุมชนสามัคคีรร่วมใจ จำนวน 1 จุด 3.2.3 บริเวณชุมชนบางบัว จำนวน 1 จุด

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

นิยาม การปรับปรุงภูมิทัศน์คลอง หมายถึง การปรับปรุงภูมิทัศน์ตลอดแนวคลองให้มีความสวยงาม สะอาด และปลอดภัยสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมอัตลักษณ์ของแต่ละพื้นที่ วิถีชีวิต วัฒนธรรมของชุมชน ทั้งภูมิทัศน์ที่เป็นแหล่งธรรมชาติ และสถานที่ที่ถูกสร้างขึ้น อัตลักษณ์ หมายถึง ผลรวมของลักษณะเฉพาะ ของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่โดดเด่น ซึ่งทำให้สิ่งนั้นเป็นสิ่งที่รู้จักหรือจำได้ คลอง หมายถึง คลองในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นคลองเป้าหมายที่กำหนด ตามเอกสารแนบ 1 การดำเนินการของแต่ละหน่วยงานประกอบด้วย ๑. สำนักการระบายน้ำ 1.๑ ดำเนินการจัดประชุมร่วมกับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องเพื่อจัดทำแผนการปรับปรุงภูมิทัศน์คลอง ในพื้นที่กรุงเทพมหานครของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ให้แล้วเสร็จภายในเดือนตุลาคม 2563 ๑.2 ตรวจวัดคุณภาพน้ำในคลองสายหลัก ตามแผนที่กำหนด คลองละ 2 จุด ทั้งก่อนและหลังดำเนินการกิจกรรมด้านการรักษาความสะอาด เพื่อหาค่าออกซิเจนละลายน้ำ (Dissolved Oxygen : DO) ค่าปริมาณความสกปรกในรูปสารอินทรีย์ (Biochemical Oxygen Demand : BOD) และค่าแอมโมเนียไนโตรเจน (Ammonia Nitrogen : NH3N) ๑.๓ เก็บขยะในคลองและทางเดินริมคลอง และขัดล้างทำความสะอาดเขื่อนผนังกั้นน้ำ บริเวณคลองสายหลักของกรุงเทพมหานคร ๑.๔ ขุดลอกคู คลอง และเปิดทางน้ำไหล หรือดูดตะกอนดินเลน ๑.5 ตรวจสอบและซ่อมแซมสิ่งปลูกสร้าง ที่อยู่ในความรับผิดชอบตลอดแนวคลองให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานหรือสภาพที่ดีขึ้น เช่น ราวกันตกริมคลอง สถานีสูบน้ำ ประตูระบายน้ำ ฯลฯ ๒. สำนักสิ่งแวดล้อม จัดทำแผนและพัฒนาพื้นที่สีเขียวตามแนวคลอง โดยมีรายละเอียดของโครงการ/กิจกรรม เพื่อดำเนินการ สร้างความร่มรื่นหรือตกแต่งไม้ดอกไม้ประดับ ให้มีความสวยงามและเป็นอัตลักษณ์ของพื้นที่ 3. สำนักการโยธา จัดทำแผนและพัฒนาพื้นที่ สำรวจ ตรวจสอบและซ่อมแซมสะพานข้ามคลองโดยจัดทำรายละเอียดโครงการ/กิจกรรมในพื้นที่เป้าหมายเพื่อซ่อมแซม สิ่งปลูกสร้างตลอดแนวคลองที่อยู่ในความรับผิดชอบ ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานหรือสภาพที่ดีขึ้น

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

วิธีคำนวณ นับจากผลรวมของความสำเร็จการดำเนินงาน ตามภารกิจเฉพาะหน่วยงาน และความสำเร็จของการดำเนินงานในภาพรวม

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

1. เอกสารประกอบการดำเนินการ 2. ระบบการบริหารจัดการแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร (BMA digitalplans)

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๑ - ปลอดมลพิษ
:๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ%
:๑.๑.๑.๑ คุณภาพแหล่งน้ำธรรมชาติในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครมีคุณภาพดีขึ้น

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง