รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละของชุมชนที่มีกิจกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออก : 5013-0963

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 80

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
32.00
100
100 / 100
2
65.00
100
100 / 100
3
92.00
100
100 / 100
4
100.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. จัดทำแผนปฏิบัติงาน 2. จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ สำรวจ ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายในชุมชน 20 ครั้ง (จากจำนวนชุมชนทั้งหมด 63 ชุมชน)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. จัดทำแผนปฏิบัติงาน 2. จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ สำรวจ ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายในชุมชน 41 ครั้ง (จากจำนวนชุมชนทั้งหมด 63 ชุมชน)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. จัดทำแผนปฏิบัติงาน 2. จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ สำรวจ ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายในชุมชน 65 ครั้ง (จากจำนวนชุมชนทั้งหมด 63 ชุมชน)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. จัดทำแผนปฏิบัติงาน 2. จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ สำรวจ ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายในชุมชน 70 ครั้ง (จากจำนวนชุมชนทั้งหมด 63 ชุมชน)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

กิจกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออก หมายถึง ชุมชนที่จดทะเบียนที่ได้ดำเนินกิจกรรมป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก ได้แก่ กิจกรรมที่ 1 มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายเป็นประจำ กิจกรรมที่ 2 มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในชุมชน เช่น การจัดนิทรรศการ เผยแพร่ผ่านทางหอกระจายข่าว เอกสาร เวทีชาวบ้าน การประชุมในชุมชน การรณรงค์ ประชาสัมพันธ์โดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน กิจกรรมที่ 3 มีการปรับสภาพสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งแพร่โรค กิจกรรมที่ 4 ชุมชนที่มีผู้ป่วยได้รับการควบคุมโรคภายใน 24 ชั่วโมง ภายหลังได้รับการแจ้งข่าว โดยใช้มาตรการเร่งด่วนสำหรับการควบคุมการระบาด

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

วิธีคำนวณ จำนวนชุมชนที่มีกิจกรรมการป้องกันดรคไข้เลือดออกคูณ100หารด้วยจำนวนชุมชนทั้งหมด

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

1.จัดเก็บข้อมูลที่ฝ่ายสิ่งแวดล้อมฯ 2.รายงานผลการดำเนินงานสำนักอนามัย

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย
:๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง%
:๑.๖.๒.๑ ป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ในกลุ่มเป้าหมายที่มีพฤติกรรมเสี่ยงสูง รวมทั้งกลุ่มเยาวชน

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง