รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ระดับความสำเร็จของคลองในพื้นที่กรุงเทพมหานครได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่ : 5018-0835

ค่าเป้าหมาย ระดับ : 5

ผลงานที่ทำได้ ระดับ : 5

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ระดับ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00
100
100 / 100
2
2.00
0
0 / 0
3
3.00
0
0 / 0
4
5.00
0
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ไตรมาสที่ 1 โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์คลองบางกอกใหญ่ และคลองมอญดำเนินการสำรวจพื้นที่คลองร่วมกับสำนักที่เกี่ยวข้อง และจัดทำแบบสรุปผลการสำรวจคลอง, แผนการปรับปรุงภูมิทัศน์ และโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์คลองบางกอกใหญ่ (บางหลวง) และคลองมอญ ดำเนินการได้คิดเป็นร้อยละ 20 โครงการขุดลอกคลองต้นตาล (อาชีวธนบุรี) จากคลองบางกอกใหญ่ถึงวิทยาลัยอาชีวธนบุรี ดำเนินการได้คิดเป็นร้อยละ 45 โครงการขุดลอกลำกระโดงข้างวัดสังข์กระจายจากคลองบางกอกใหญ่ถึงซอยเพชรเกษม 4 ดำเนินการได้คิดเป็นร้อยละ 45, โครงการขุดลอกคลองวัดท่าพระจากถนนจรัญสนิทวงศ์ถึงคลองแยกซอยจรัญสนิทวงศ์ 1 ดำเนินการได้คิดเป็นร้อยละ 45,โครงการก่อสร้างเขื่อน ค.ส.ล.(ดาดท้องคลอง) คลองวัดหงส์รัตนาราม ต่อจากของเดิม ตั้งแต่บ้านเลขที่ 23 ถึงบ้านเลขที่ 31 ดำเนินการได้คิดเป็นร้อยละ 15,โครงการก่อสร้างเขื่อน ค.ส.ล.(ดาดท้องคลอง) คลองต้นไทรซอยเพชรเกษม 7 คิดเป็นร้อยละ 45 และโครงการพัฒนาคู คลอง ในพื้นที่เขตฯ ดำเนินการได้คิดเป็นร้อยละ 30 เฉลี่ยไตรมาส 1 ดำเนินการได้ร้อยละ 35

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ไตรมาสที่ 2- เดือนม.ค.-มี.ค. 64 ดำเนินการ ดังนี้ โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์คลองบางกอกใหญ่ และคลองมอญดำเนินการสำรวจพื้นที่คลองร่วมกับสำนักที่เกี่ยวข้อง และจัดทำแบบสรุปผลการสำรวจคลอง, แผนการปรับปรุงภูมิทัศน์ และโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์คลองบางกอกใหญ่ (บางหลวง) และคลองมอญ ดำเนินการได้คิดเป็นร้อยละ 40 โครงการขุดลอกคลองต้นตาล (อาชีวธนบุรี) จากคลองบางกอกใหญ่ถึงวิทยาลัยอาชีวธนบุรี ดำเนินการได้คิดเป็นร้อยละ 100 โครงการขุดลอกลำกระโดงข้างวัดสังข์กระจายจากคลองบางกอกใหญ่ถึงซอยเพชรเกษม 4 ดำเนินการได้คิดเป็นร้อยละ 100, โครงการขุดลอกคลองวัดท่าพระจากถนนจรัญสนิทวงศ์ถึงคลองแยกซอยจรัญสนิทวงศ์ 1 ดำเนินการได้คิดเป็นร้อยละ 100,โครงการก่อสร้างเขื่อน ค.ส.ล.(ดาดท้องคลอง) คลองวัดหงส์รัตนาราม ต่อจากของเดิม ตั้งแต่บ้านเลขที่ 23 ถึงบ้านเลขที่ 31 ดำเนินการได้คิดเป็นร้อยละ 10,โครงการก่อสร้างเขื่อน ค.ส.ล.(ดาดท้องคลอง) คลองต้นไทรซอยเพชรเกษม 7 คิดเป็นร้อยละ 65 และโครงการพัฒนาคู คลอง ในพื้นที่เขตฯ ดำเนินการได้คิดเป็นร้อยละ 60 เฉลี่ยไตรมาส 2 ดำเนินการเฉลี่ย = 40+60+100+100+100+10+65/7 คิดเป็นร้อยละ 67.86

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ไตรมาสที่ 3 - เดือนเม.ย. - มิ.ย. 64 ดำเนินการ ดังนี้ โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์คอลลองบางกอกใหญ่ และคลองมอญ 1. ดำเนินการประชาสัมพันธ์รณรงค์ให้ประชาชนในพื้นที่ ไม่ทิ้งขยะลงคลองการดูแลแม่น้ำลำคลองให้ใสสะอาดและคัดแยกขยะเพื่อลดประมาณขยะและรักษ์สิ่งแวดล้อม 7 ชุมชน 2. จัดทำเสาหลักกม. ขนาดใหญ่ เพื่อนำไปตั้งบริเวณจุดเช็คอินเพื่อให้ประชาชนถ่ายรูป 4 จุด 3. เก็บขยะทางเรือตามบ้านเรือนที่อาศัยริมคลองบางกอกใหญ่และคลองมอญ 4. ปรับปรุงพื้นที่บริเวณใต้สะพานข้ามคลองมอญ โดยกำหนดการจัดเก็บขยะ กองวัสดุที่ประชาชนนำมาทิ้ง 5. ประชาชนให้สถานประกอบอาหารในพื้นที่เขตบางกอกใหญ่

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ไตรมาสที่ 4 - สรุปสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ ได้ดำเนินการตามแผน ดังนี้ 1. สำนักงานเขตร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสำรวจพื้นที่คลองบางกอกใหญ่และคลองมอญ เพื่อจัดทำแผนการปรับปรุงภูมิทัศน์ทั้ง 2 คลอง 2. ดำเนินการพัฒนาพื้นที่ริมคลองบางกอกใหญ่และคลองมอญ เพื่อปรับปรุงเป็นจุด เช็คอิน อย่างน้อยคลองละ 1 จุด ดำเนินการได้ 4 จุด 3. ดำเนินการจัดเก็บขยะมูลฝอยตลอดแนวคลองบางกอกใหญ่และคลองมอญทุกเดือน 4. ดำเนินการตรวจสอบและประชาสัมพันธิ์ให้สถานประกอบการอาหารในพื้นที่เขต ติดตั้งถังดักไขมันเพื่อบำบัด น้ำเสียก่อนปล่อยลงสู่คลอง จำนวน 152 ร้าน 5. ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ การทำปุ๋ยและน้ำหนักจากเศษอาหาร เศษผักและเศษผลไม้ในการนำขยะมาใช้ประโยชน์กับชุมชนภายในพื้นที่เขต 6. ดำเนินการตรวจสอบพื้นที่บริเวณใต้สะพาน และพัฒนาพื้นที่เพื่อป้องกันไม่ให้มีคนเร่ร่อนมาพักอาศัยบริเวณใต้สะพานข้ามคลองต่าง ๆ 7. ดำเนินการซ่อมแซมโป๊ะเรือบริเวณท่าเรือวัดประดู่ฉิมพลี ให้มีความปลอดภัยกับประชาชนผู้สัญจรทางเรือ 8. ดำเนินการเก็บขยะชิ้นใหม่ ตั้งแต่เดือนต.ค. 63 - เดือนส.ค. 64 จำนวน 6,710 กิโลกรัม

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

นิยาม : การปรับปรุงภูมิทัศน์คลอง หมายถึง การปรับปรุงภูมิทัศน์ตลอดแนวคลองให้มีความสวยงาม สะอาด และปลอดภัยสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมอัตลักษ์ของแต่ละพื้นที่ วิถีชีวิต วัฒนธรรมของชุมชน ทั้งภูมิทัศน์ที่เป็นแหล่งธรรมชาติ และสถานที่ที่ถูกสร้างขึ้น อัตลักษณ์ หมายถึง ผลรวมของลักษณะเฉพาะของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่โดดเด่น ซึ่งทำให้สิ่งนั้นเป็นสิ่งที่รู้จักหรือจำได้ คลอง หมายถึง คลองในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นคลองเป้าหมายที่กำหนด รณรงค์ ติดป้ายประชาสัมพันธ์ การกระจายเสียง ฯลฯ และให้ความรู้แก่ประชาชน เรื่องการคัดแยกขยะ การจัดทำถังหรือบ่อดักไขมันสำหรับบ้านเรือน 3. ประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้ประชาชนในพื้นที่ ภาคเอกชน เข้ามามีส่วนร่วม ในการปรับปรุงภูมิทัศน์คลอง เช่น ท่าน้ำของตนเอง สะพานทางเดินข้ามคลอง ที่เชื่อมระหว่างบ้านกับชุมชน ฯลฯ 4. สำรวจและประสานการไฟฟ้านครหลวงเพื่อติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างให้พร้อม ใช้งาน 5. สำรวจ ตรวจสอบและซ่อมแซมสะพานข้ามคลองในความรับผิดชอบให้อยู่ ในสภาพพร้อมใช้งานหรือสภาพที่ดีขึ้น 6. พัฒนาพื้นที่ริมคลองให้เป็นสถานที่พักผ่อน จุดชมวิวทิวทัศน์ สร้างจุด Check in ติดตั้งป้ายอำนวยความสะดวกแก่ผู้มาเยือน และป้ายประดับต่างๆ ให้มีความสวยงามและเป็นอัตลักษณ์ของพื้นที่ อย่างน้อยเขตละ 1 จุด ต่อคลอง สัดส่วนความสำเร็จในการบูรณาการการดำเนินการ ประกอบด้วย 1. ความสำเร็จตามภารกิจเฉพาะหน่วยงาน หมายถึง ความสำเร็จซึ่งเป็นไปตามแผนฯ ที่หน่วยงานนำเสนอคิดเป็นร้อยละ 60 2. ความสำเร็จในภาพรวม หมายถึง ความสำเร็จซึ่งเกิดขึ้นจากการดำเนินงาน ของทุกหน่วยงาน และส่งผลให้สภาพของคลองมีความสวยงาม สะอาด และปลอดภัย สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและอัตลักษณ์ของแต่ละพื้นที่โดยพิจารณาจากสภาพภูมิทัศน์ของคลองซึ่งเป็นไปตามที่กำหนด คิดเป็น ร้อยละ 40 ทั้งนี้ ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะต้องดำเนินการกับคลองเป้าหมาย โดยจัดทำแผนการดำเนินงานตามภารกิจที่รับผิดชอบให้แล้วเสร็จภายในเดือนธันวาคม 2563 และรายงานผลผ่านระบบการบริหารจัดการแผนพัฒนากรุงเทพ มหานคร (BMA Digital Plans)

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

นับจากผลรวมของความสำเร็จการดำเนินงานตามภารกิจเฉพาะหน่วยงาน และความสำเร็จของการดำเนินงานในภาพรวม

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

1. เอกสารประกอบการดำเนินการ 2. ระบบการบริหารจัดการแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร (BMA Digital Plans)

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
:๒.๑ - ภูมิทัศน์สวยงาม
:๒.๑.๑ กรุงเทพมหานครจัดระเบียบเมือง ปรับปรุงทัศนียภาพของเมืองให้แลดูสะอาด ไม่มีสายไฟฟ้า%
:๒.๑.๑.๑ ตลาดหรือแผงค้าขายที่กีดขวางทางเท้า กีดขวางการจราจรและบดบังทัศนียภาพ ได้รับการจัดระเบียบได้ครบทุกกลุ่มเขต

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง