ค่าเป้าหมาย ระดับ : 5
ผลงานที่ทำได้ ระดับ : 5
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
ไตรมาสที่ 1 เดือนต.ค. 63 - จัดสรรงบประมาณและอนุมัติโครงการ เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อการตรวจวิเคราะห์ ด้านเคมี จำนวน 508 ราย ด้านชีววิทยา จำนวน 116 ราย และตรวจด้านสุขลักษณะของสถานประกอบการอาหาร จำนวน 22 แห่ง เดือนพ.ย. 63 - จัดสรรงบประมาณและอนุมัติโครงการ เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อการตรวจวิเคราะห์ ด้านเคมี จำนวน 380 ราย ด้านชีววิทยา จำนวน 147 ราย และตรวจด้านสุขลักษณะของสถานประกอบการอาหาร จำนวน 21 แห่ง เดือนธ.ค. 63 - จัดสรรงบประมาณและอนุมัติโครงการ เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อการตรวจวิเคราะห์ ด้านเคมี จำนวน 568 ราย ด้านชีววิทยา จำนวน 293 ราย และตรวจด้านสุขลักษณะของสถานประกอบการอาหาร จำนวน 34 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 55
ไตรมาสที่ 2 - โครงการค่าใช้จ่ายกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย (Green Service) เดือนม.ค.64 โดยดำเนินการตรวจด้านสุขลักษณะของสถานประกอบการอาหาร ด้านการบริหารที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) ผ่านเกณฑ์อยู่ระดับ 4 ดาว จำนวน 35 ราย และระดับ 5 ดาว จำนวน 0 ราย จากทั้งหมด 147 ราย คิดเป็นร้อยละ 2 - โครงการค่าใช้จ่ายกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย (Green Service) เดือนก.พ.64 โดยดำเนินการตรวจด้านสุขลักษณะของสถานประกอบการอาหาร ด้านการบริหารที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) ผ่านเกณฑ์อยู่ระดับ 4 ดาว จำนวน 42 ราย และระดับ 5 ดาว จำนวน 0 ราย จากทั้งหมด 110 ราย คิดเป็นร้อยละ 27โครงการค่าใช้จ่ายกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย (Green Service) -เดือนมี.ค. 64 โดยดำเนินการตรวจด้านสุขลักษณะของสถานประกอบการอาหาร ด้านการบริหารที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) ผ่านเกณฑ์อยู่ระดับ 4 ดาว จำนวน 43 ราย และระดับ 5 ดาว จำนวน 0 ราย จากทั้งหมด 110 ราย คิดเป็นร้อยละ 28 โครงการค่าใช้จ่ายกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย 28/01/2564 : อยู่ระหว่างดำเนินการตามแผนการปฏิบัติงานงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยดำเนินการ 1. เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ด้านเคมี จำนวน 356 ตัวอย่างดังนี้ - บอแรกซ์ จำนวน 134 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารฟอกขาว จำนวน 4 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารกันรา จำนวน 17 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สีสังเคราะห์ จำนวน 7 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - กรดแร่อิสระ จำนวน 1 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ยาฆ่าแมลง จำนวน 191 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารโพลาร์ จำนวน 2 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 2. เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ด้านจุลชีววิทยา จำนวน 178 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 3. ตรวจด้านสุขลักษณะของสถานประกอบการอาหาร จำนวน 45 แห่ง ไม่พบปัญหาด้านสุขลักษณะ 25/02/2564 : อยู่ระหว่างดำเนินการตามแผนการปฏิบัติงานงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยดำเนินการ 1. เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ด้านเคมี จำนวน 516 ตัวอย่างดังนี้ - บอแรกซ์ จำนวน 128 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ฟอร์มาลีน จำนวน 32 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารฟอกขาว จำนวน 23 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารกันรา จำนวน 14 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สีสังเคราะห์ จำนวน 2 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารไดโอเดท จำนวน 2 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - กรดแร่อิสระ จำนวน 3 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ยาฆ่าแมลง จำนวน 157 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารโพลาร์ จำนวน 3 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 2. เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ด้านจุลชีววิทยา จำนวน 152 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 3. ตรวจด้านสุขลักษณะของสถานประกอบการอาหาร จำนวน 25 แห่ง ไม่พบปัญหาด้านสุขลักษณะ 4. ตรวจด้านสุขลักษณะของตลาด จำนวน 4 แห่ง ไม่พบปัญหาด้านสุขลักษณะ 30/03/2564 : อยู่ระหว่างดำเนินการตามแผนการปฏิบัติงานงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยดำเนินการ 1. เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ด้านเคมี จำนวน 324 ตัวอย่างดังนี้ - บอแรกซ์ จำนวน 41 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ฟอร์มาลีน จำนวน 25 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารฟอกขาว จำนวน 7 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารกันรา จำนวน 5 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สีสังเคราะห์ จำนวน 2 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารไดโอเดท จำนวน 1 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - กรดแร่อิสระ จำนวน 1 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ยาฆ่าแมลง จำนวน 147 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 2. เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ด้านจุลชีววิทยา จำนวน 95 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 3. ตรวจด้านสุขลักษณะของสถานประกอบการอาหาร จำนวน 23 แห่ง ไม่พบปัญหาด้านสุขลักษณะ (มีการรายงานอยู่ในตัวชี้วัดร้อยละความสำเร็จของสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี และมีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service)
ไตมาส 3 - เดือนเม.ย. - มิ.ย. 64 ระดับความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกทม.โดยการเก็บตัวอย่างอาหาร เพื่อตรวจวิเคราะห์ด้านเคมีสถานประกอบการอาหารที่ผ่านมาตรฐานอาหารปลอดภัย เดือนเม.ย.- มิ.ย. 64 จำนวน 0 ราย ระดับดี 4.75 คิดเป็นร้อยละ 95 (มีการรายงานอยู่ในตัวชี้วัดร้อยละความสำเร็จของสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี และมีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service)
ไตมาส 4 - เดือนต.ค.63 -ก.ย. 64 ระดับความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกทม. ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ สถานประกอบการอาหารประเภทซูเปอร์มาร์เก็ต ตลาด มินิมาร์ท ร้านอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยและได้รับป้ายรับรองอาหารปลอดภัย ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) โดยสถานประกอบการทุกแห่ง ได้รับการตรวจประเมินผ่านเกณฑ์ด้านสุขลักษณะ ได้รับการสุ่มตรวจอาหาร วัตถุดิบผ่านเกณฑ์ด้านความปลอดภัย บุคลากรผู้สัมผัสอาหารต้องผ่านการอบรมหรือเรียนรู้ด้วยตนเอง ตามหลักสูตรการสุขาภิบาลอาหารของกรุงเทพมหานครสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 151 ราย ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยกรุงเทพมหานคร ระดับดีมีการบริการที่เป็นมิตรสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 151 ราย ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีบริการดีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) ดังนี้ สถานประกอบการอาหารประเภทมินิมาร์ท 10 ราย สถานประกอบการอาหารประเภทร้านจำหน่ายอาหาร 39 ราย
๑. สถานประกอบการอาหาร หมายถึง ร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร ริมบาทวิถี ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต และมินิมาร์ท ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ๕๐ เขต ๒. เกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ประกอบด้วย ๓ องค์ประกอบหลัก ดังนี้ ๒.๑ ด้านสุขลักษณะทางกายภาพ อาคารสถานที่ (Place) ต้องผ่านเกณฑ์ด้านความสะอาดและสุขลักษณะของสถานที่ตามประเภทของสถานประกอบการอาหาร และการควบคุมป้องกันโรคติดต่อที่เกี่ยวข้องกับการจำหน่ายและบริโภคอาหาร ๒.๒ ด้านคุณภาพอาหาร (Food) ต้องผ่านเกณฑ์ด้านความปลอดภัย ได้แก่ (๑) อาหารและวัตถุดิบ สุ่มตรวจด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (Test kit) ทางด้านเคมี อยู่ในเกณฑ์คุณภาพอาหารที่กำหนด ดังนี้ - ต้องไม่พบการปนเปื้อนของสารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน สารฟอกขาว และสารกันรา - ต้องไม่พบสีสังเคราะห์ในอาหารที่ห้ามการใช้สี - ต้องไม่พบกรดแร่อิสระในน้ำส้มสายชู - ต้องไม่พบยาฆ่าแมลง และสารโพลาร์ในน้ำมันทอดอาหาร เกินเกณฑ์คุณภาพอาหารที่กำหนด (๒) ตรวจความสะอาดของอาหารพร้อมบริโภค ภาชนะ อุปกรณ์ มือผู้สัมผัสอาหาร โดยใช้ชุดตรวจหาโคลิฟอร์มแบคทีเรียเบื้องต้น (SI-๒) พบการปนเปื้อนไม่เกินร้อยละ ๑๐ ทั้งนี้ จำนวนตัวอย่างที่สุ่มตรวจให้เป็นไปตามแนวทางการเก็บตัวอย่างตรวจวิเคราะห์ของแต่ละประเภทสถานประกอบการอาหาร ดังนี้ (๑) ร้านอาหาร - ขนาดพื้นที่มากกว่า ๒๐๐ ตารางเมตร สุ่มเก็บตัวอย่างอาหาร ภาชนะ และมือผู้สัมผัสอาหาร เพื่อตรวจวิเคราะห์หาการปนเปื้อนทั้งทางด้านเคมี และจุลินทรีย์ รวมกันไม่น้อยกว่า ๑๐ ตัวอย่าง - ขนาดพื้นที่ไม่เกิน ๒๐๐ ตารางเมตร สุ่มเก็บตัวอย่างอาหาร ภาชนะ และมือผู้สัมผัสอาหาร เพื่อตรวจวิเคราะห์หาการปนเปื้อนทั้งทางด้านเคมี และจุลินทรีย์ รวมกันไม่น้อยกว่า ๕ ตัวอย่าง (๒) แผงลอยจำหน่ายอาหารริมบาทวิถี สุ่มเก็บตัวอย่างอาหาร ภาชนะ และมือผู้สัมผัสอาหาร เพื่อตรวจวิเคราะห์หาการปนเปื้อนทั้งทางด้านเคมี และจุลินทรีย์ รวมกันไม่น้อยกว่า ๕ ตัวอย่าง (ยกเว้น แผงลอยจำหน่ายอาหารริมบาทวิถีบางประเภท ที่ไม่สามารถเก็บตัวอย่างได้ครบตามที่กำหนด (๓) ตลาด - จำนวนแผงค้าอาหารในตลาด น้อยกว่า ๑๐๐ แผง สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารจากแผงค้า จำนวนร้อยละ ๘๐ ของจำนวนแผงค้าอาหารทั้งหมด - จำนวนแผงค้าอาหารในตลาด ตั้งแต่ ๑๐๐ – ๒๐๐ แผง สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารจากแผงค้า จำนวนร้อยละ ๖๐ ของจำนวนแผงค้าอาหารทั้งหมด - จำนวนแผงค้าอาหารในตลาด มากกว่า ๒๐๐ แผง สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารจากแผงค้า จำนวนร้อยละ ๕๐ ของจำนวนแผงค้าอาหารทั้งหมด (๔) ซูเปอร์มาร์เก็ต สุ่มเก็บตัวอย่างอาหาร ภาชนะ และมือผู้สัมผัสอาหาร เพื่อตรวจวิเคราะห์หาการปนเปื้อนทั้งทางด้านเคมี และจุลินทรีย์ รวมกันไม่น้อยกว่า ๑๐ ตัวอย่าง (๕) มินิมาร์ท สุ่มเก็บตัวอย่างอาหาร ภาชนะ และมือผู้สัมผัสอาหาร เพื่อตรวจวิเคราะห์ หาการปนเปื้อนทั้งทางด้านเคมี และจุลินทรีย์ รวมกันไม่น้อยกว่า ๕ ตัวอย่าง (ยกเว้นมินิมาร์ทที่จำหน่ายอาหารบางประเภท ที่ไม่สามารถเก็บตัวอย่างได้ครบตามที่กำหนด) กรณีพบการปนเปื้อน ให้เจ้าพนักงานออกคำแนะนำหรือออกคำสั่งให้ผู้ประกอบการอาหารดำเนินการปรับปรุงแก้ไข ๒.๓ ด้านบุคลากร ผู้สัมผัสอาหาร (Food Handler) ต้องผ่านการอบรมหรือการเรียนรู้ด้วยตนเองด้านการสุขาภิบาลอาหาร ๓. การบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) หมายถึง สถานประกอบการอาหารมีการให้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม อย่างน้อย ๔ ข้อ โดยต้องผ่านข้อมาตรฐานหลักทุกข้อ ดังนี้ (๑) ไม่มีเหตุรำคาญจากการประกอบกิจการ (ข้อมาตรฐานหลัก) (๒) ไม่ใช้ภาชนะที่ทำจากโฟม (ข้อมาตรฐานหลัก) (๓) เลือกใช้วัตถุดิบที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม หรือได้รับการรับรองมาตรฐานด้านความปลอดภัยที่เชื่อถือได้ (๔) มีการคัดแยกขยะ เช่น ขยะรีไซเคิล ขยะทั่วไป และขยะอันตราย เป็นต้น (๕) มีการนำขยะอาหาร วัตถุดิบเหลือใช้ ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ (๖) เลือกใช้ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาด หรือการกำจัดแมลง สัตว์นำโรคที่มีวิธีหรือส่วนประกอบจากธรรมชาติ (๗) มีนโยบายให้ลูกค้านำภาชนะมาใส่อาหารเองได้
๑. จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี คูณด้วย ๑๐๐ หารด้วยจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด ๒. จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service)คูณด้วย ๑๐๐ หารด้วยจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด
๑. โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ๒. ข้อมูลจำนวนสถานประกอบการอาหารที่ได้รับการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร และข้อมูลจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ๓. ระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร และ BMA Food Safety Application
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
:๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน% |
:๑.๖.๕.๑ ควบคุม กำกับ ดูแล ให้สถานประกอบการอาหาร เตรียม ประกอบปรุง และจำหน่ายอาหารถูกสุขลักษณะ |