รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละความสำเร็จของการติดตั้ง/ซ่อมแซมไฟฟ้าแสงสว่างในพื้นที่เสี่ยง : 5018-848

ค่าเป้าหมาย ้ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ้ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(้ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
30.00
100
100 / 100
2
55.00
0
0 / 0
3
65.00
0
0 / 0
4
100.00
0
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ไตรมาสที่ 1 - จัดทำแผนการติดตั้ง/ซ่อมแซมไฟฟ้า ส่งสำนักการโยธา เป้าหมาย ติดตั้งใหม่ จำนวน 60 ดวง ซ่อมแซม จำนวน 180 ดวง เดือนต.ค. -ธ.ค. 63 ดำเนินการได้ ติดตั้งใหม่ จำนวน 0 ดวง ซ่อมแซม จำนวน 45 ดวง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ไตรมาสที่ 2 - เดือนม.ค.64 ขออนุมัติเบิกจ่ายค่าติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง รอการแจ้งยอดจากการไฟฟ้านครหลวง เดือนก.พ. 64 จำนวน ติดตั้งใหม่ 0 ดวง ซ่อมแซม 161 ดวง เดือนมี.ค. 64 ติดตั้งใหม่ 0 ดวง ซ่อมแซม 161 ดวง สรุป เดือนม.ค.-มี.ค. 64 ติดตั้งใหม่ จำนวน 0 ดวง ซ่อมแซม 161 ดวง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ไตรมาสที่ 3 - เดือนเม.ย.64 ขออนุมัติเบิกจ่ายค่าติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง รอการแจ้งยอดจากการไฟฟ้านครหลวง เดือนมี.ค. 64 จำนวน ติดตั้งใหม่ 0 ดวง ซ่อมแซม 161 ดวง เดือนพ.ค. 64 ติดตั้งใหม่ 0 ดวง ซ่อมแซม 161 ดวง เดือนเม.ย. 64 ติดตั้งใหม่ จำนวน 0 ดวง ซ่อมแซม 161 ดวง เดือนมิ.ย. 64 ขออนุมัติเบิกจ่ายค่าติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง รอการแจ้งยอดจากการไฟฟ้านครหลวง เดือนเม.ย. 64 จำนวน ติดตั้งใหม่ 0 ดวง ซ่อมแซม 381 ดวง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ไตรมาสที่ 4 - สรุปการดำเนินงานตั้งแต่เดือนต.ค. 63 - เดือนก.ย. 64 จำนวน ติดตั้งใหม่ 0 ดวง ซ่อมแซม 642 ดวง

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

พื้นที่เสี่ยงภัย หมายถึง พื้นที่ที่มีความล่อแหลมต่อการเกิดเหตุ อาชญากรรม กับประชาชน โดยพื้นที่เสี่ยงภัยที่เป็นเป้าหมายในการ ดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 นั้น ได้นำรายละเอียดพื้นที่ เสี่ยงภัยและวิธีการแก้ไขหรือลดปัจจัยเสี่ยงภัยมาจากบัญชีพื้นที่เสี่ยง และพื้นที่อันตรายของกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. 2563 ซึ่งเกิดจาก การสำรวจและรวบรวมข้อมูลของคณะทำงานโครงการสำรวจและ จัดทำบัญชีพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่อันตรายของกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. 2563 2. เงื่อนไข (ปัจจัย) ความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม หมายถึง เหตุ/ช่องทาง/สิ่งต่าง ๆ ที่อาจทำให้เกิดเหตุอาชญากรรม หรือก่อเหตุการณ์ความไม่ปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งได้ตามสภาพพื้นที่นั้น 3. การลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม หมายถึง การปรับ แก้ไข หรือการเพิ่มเติมสภาพแวดล้อมพื้นที่ เช่น การติดตั้งหรือซ่อมแซมไฟฟ้าส่องสว่าง การดูแลตัดต้นไม้ การติดตั้งหรือซ่อมแซมกล้องวงจรปิด (CCTV) การติดป้ายประชาสัมพันธ์ ป้องกันอาชญากรรม การทำความสะอาด ฯลฯ รวมทั้งการเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่ โดยการจัดเจ้าหน้าที่ออก ตรวจตราเพื่อเป็นการป้องปรามการก่อเหตุอาชญากรรมหรือ เหตุการณ์ความไม่ปลอดภัยในบริเวณพื้นที่เสี่ยงภัยตามแต่ละสภาพ พื้นที่นั้น ๆ

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

จำนวนการติดตั้ง/ซ่อมแซมไฟฟ้าส่องสว่าง คูณ 100 หารยอดและการติดตั้งและซ่อมแซมไฟฟ้าประจำปีตามแผน

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

แผนการดำเนินงาน

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด
:๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน%
:๑.๒.๑.๑ เสริมสร้างความปลอดภัยเพื่อลดความล่อแหลมของสภาพแวดล้อมต่อการก่อ อาชญากรรม

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง