ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 80
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
1. ขออนุมัติโครงการฯ 2. จัดทำแผนปฏิบัติงานโครงการฯ 3. ดำเนินการตามแผนปฏิบัติงานโครงการฯ
1. ขออนุมัติโครงการฯ 2. จัดทำแผนปฏิบัติงานโครงการฯ 3. ดำเนินการตามแผนปฏิบัติงานโครงการฯ 3.1 ประชาสัมพันธ์ในการป้องกันและควบคุมโรค แจกแผ่นพับ จำนวน 807 ครั้ง ให้สุขศึกษาในการป้องกันโรคไข้เลือดออก จำนวน 95 ครั้ง 3.2 สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลาย จำนวน 7238 หลังคาเรือน ใส่ทรายอะเบท 727 ครั้ง 3.3 ปรับปรุงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมเพื่อไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธ์ุไข้เลือดออก 727 ครั้ง 3.4 ฉีดพ่นสารเคมีกำจัดตัวแก่ยุงลาย เพื่อควบคุมโรคภายใน 24 ชั่วโมง กรณีมีผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 21 ครั้ง
1. จัดทำแผนปฏิบัติงานโครงการฯ 2. ดำเนินการตามแผนปฏิบัติงานโครงการฯ 2.1 ประชาสัมพันธ์ในการป้องกันและควบคุมโรค แจกแผ่นพับ จำนวน 430 ครั้ง ให้สุขศึกษาในการป้องกันโรคไข้เลือดออก จำนวน 137 ครั้ง 2.2 สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลาย จำนวน 1,140 หลังคาเรือน ใส่ทรายอะเบท 710 ครั้ง 2.3 ปรับปรุงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมเพื่อไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธ์ุไข้เลือดออก 727 ครั้ง 2.4 ฉีดพ่นสารเคมีกำจัดตัวแก่ยุงลาย เพื่อควบคุมโรคภายใน 24 ชั่วโมง กรณีมีผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 21 ครั้ง
1. จัดทำแผนปฏิบัติงานโครงการฯ 2. ดำเนินการตามแผนปฏิบัติงานโครงการฯ 2.1 ประชาสัมพันธ์ในการป้องกันและควบคุมโรค แจกแผ่นพับ จำนวน 682 ครั้ง ให้สุขศึกษาในการป้องกันโรคไข้เลือดออก จำนวน 103 ครั้ง 2.2 สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลาย จำนวน 100 หลังคาเรือน ใส่ทรายอะเบท 698 ครั้ง 2.3 ปรับปรุงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมเพื่อไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธ์ุไข้เลือดออก 100 ครั้ง 2.4 ฉีดพ่นสารเคมีกำจัดตัวแก่ยุงลาย เพื่อควบคุมโรคภายใน 24 ชั่วโมง กรณีมีผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 2 ครั้ง
- กิจกรรมป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ได้แก่ 1. มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายเป็นประจำทุกเดือน 2. มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในชุมชน เช่น การจัดนิทรรศการ เผยแพร่ผ่านหอกระจายข่าว เอกสาร เวทีชาวบ้าน การประชุมในชุมชน การรณรงค์ประชาสัมพันธ์โดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน 3. มีการปรับสภาพสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งแพร่โรค 4. ชุมชนที่มีผู้ป่วยได้รับการควบคุมโรคภายใน 24 ชั่วโมง ภายหลังได้รับการแจ้งข่าว โดยใช้มาตรการเร่งด่วนสำหรับควบคุมการระบาด คือ (1) ประกาศแจ้งเตือนประชาชนให้ทราบว่ามีโรคไข้เลือดออกระบาดในชุมชนนั้น พร้อมทั้งให้สุขศึกษาแก่ประชาชนให้รู้จักวิธีการป้องกันตนเองและครอบครัวไม่ให้ยุงลายกัด (2) ขอให้ประชาชนให้ความร่วมมือกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายที่อาจมีหลงเหลืออยู่ในชุมชนให้หมดไป (3) การกำจัดลูกน้ำยุงลายในบ้านผู้ป่วยและบริเวณรอบบ้านควรดำเนินการอย่างน้อย 100 เมตร (4) ประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในพื้นที่เกิดโรค โดยมีดัชนีความชุกชุมลูกน้ำ (ค่า HI < 10 ) (5) การพ่นสารเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัย ให้ครอบคลุมพื้นที่รอบบ้านผู้ป่วยในรัศมีอย่างน้อย 100 เมตร อย่างน้อย 2 ครั้ง โดยแต่ละครั้งห่างกัน 7 วัน หากเกิดมีผู้ป่วยกระจายในชุมชน ควรพ่นทุกหลังคาเรือนในชุมชน หากมีชุมชนที่อยู่ข้างเคียงก็ควรพ่นสารเคมีเพิ่มเติมให้ชุมชนใกล้เคียงด้วย - ชุมชน ได้แก่ ชุมชนที่จัดตั้งขึ้นตามระเบียบของกรุงเทพมหานครรายเขต
จำนวนชุมชนที่มีกิจกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออก ครบ 4 กิจกรรม คูณด้วย 100 หารด้วยจำนวนชุมชนทั้งหมดในพื้นที่เขต สูตรคำนวณ AX100/ B A = จำนวนชุมชนที่มีกิจกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออก ครบ 4 กิจกรรม B = จำนวนชุมชนทั้งหมดในพื้นที่เขต
-
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
:๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง% |
:๑.๖.๒.๑ ป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ในกลุ่มเป้าหมายที่มีพฤติกรรมเสี่ยงสูง รวมทั้งกลุ่มเยาวชน |