รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละของพื้นที่เสี่ยงภัยที่ได้รับการลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการก่ออาชญากรรม : 5020-1031

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
40.00
100
100 / 100
2
55.00
100
100 / 100
3
70.00
100
100 / 50
4
100.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

- เจ้าหน้าที่สายตรวจเทศกิจ โดยสายตรวจรถยนต์ รกจักรยานยนต์ หรือการปฏิบัติหน้าที่เดินเท้าตรวจตรากวดขัน ตามพื้นที่รับผิดชอบ 8 แห่ง โดยเฝ้าระวังและตรวจตราจุดเสี่ยงภัย เพื่อเสริมสร้างความปลอดภัยในชีวิติและทรัพย์สินของประชาชน ตัดช่องโอกาสด้านสภาพแวดล้อมที่ใช้ก่ออาชญากรรม โดยตรวจกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตามสถานที่ตั้งจุดเสี่ยง - ตรวจได้ตามเป้าหมาย - เหตุการณ์ทั่วไปปกติ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- เจ้าหน้าที่สายตรวจเทศกิจ โดยสายตรวจรถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือการ ปฏิบัติหน้าที่เดินเท้าตรวจตรากวดขัน ตามพื้นที่รับผิดชอบ 8 แห่ง โดยเฝ้าระวังและตรวจตราเสี่ยงภัย เพื่อเสริมสร้งความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ตัดช่องโอกาสด้านสภาพแวดล้อมที่ใช้ก่ออาชญากรรม โดยกตรวจกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตามสถานที่ตั้งจุดเสี่ยง - ตรวจได้ตามเป้าหมาย - เหตุการณ์ทั่วไปปกติ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- เจ้าหน้าที่สายตรวจเทศกิจ โดยสายตรวจรถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือการ ปฏิบัติหน้าที่เดินเท้าตรวจตรากวดขัน ตามพื้นที่รับผิดชอบ 8 แห่ง โดยเฝ้าระวังและตรวจตราเสี่ยงภัย เพื่อเสริมสร้งความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ตัดช่องโอกาสด้านสภาพแวดล้อมที่ใช้ก่ออาชญากรรม โดยกตรวจกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตามสถานที่ตั้งจุดเสี่ยง - ตรวจได้ตามเป้าหมาย - เหตุการณ์ทั่วไปปกติ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

เจ้าหน้าที่สายตรวจเทศกิจ โดยสายตรวจรถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือการ ปฏิบัติหน้าที่เดินเท้าตรวจตรากวดขัน ตามพื้นที่รับผิดชอบ 8 แห่ง โดยเฝ้าระวังและตรวจตราเสี่ยงภัย เพื่อเสริมสร้งความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ตัดช่องโอกาสด้านสภาพแวดล้อมที่ใช้ก่ออาชญากรรม โดยกตรวจกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตามสถานที่ตั้งจุดเสี่ยง - ตรวจได้ตามเป้าหมาย - เหตุการณ์ทั่วไปปกติ - ดำเนินงานได้บรรลุวัตถุประสงค์

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

นิยาม/คำอธิบาย 1. พื้นที่เสี่ยงภัย หมายถึง พื้นที่ที่มีความล่อแหลมต่อการเกิดเหตุอาชญากรรม กับประชาชน โดยพื้นที่เสี่ยงภัยที่เป็นเป้าหมายในการดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 นั้น ได้นำรายละเอียดพื้นที่เสี่ยงภัยและวิธีการแก้ไขหรือลดปัจจัยเสี่ยงภัยมาจากบัญชีพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่อันตรายของกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. 2563 ซึ่งเกิดจากการสำรวจและรวบรวมข้อมูลของคณะทำงานโครงการสำรวจและจัดทำบัญชีพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่อันตรายของกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. 2563 2. เงื่อนไข (ปัจจัย) ความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม หมายถึง เหตุ/ช่องทาง/สิ่งต่าง ๆ ที่อาจทำให้เกิดเหตุอาชญากรรม หรือก่อเหตุการณ์ความไม่ปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง ได้ตามสภาพพื้นที่นั้น 3. การลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม หมายถึง การปรับ แก้ไข หรือการเพิ่มเติมสภาพแวดล้อมพื้นที่ เช่น การติดตั้งหรือซ่อมแซมไฟฟ้าส่องสว่าง การดูแลตัดต้นไม้ การติดตั้งหรือซ่อมแซมกล้องวงจรปิด (CCTV) การติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม การทำความสะอาด ฯลฯ รวมทั้งการเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่ โดยการจัดเจ้าหน้าที่ออกตรวจตราเพื่อเป็นการป้องปรามการก่อเหตุอาชญากรรม หรือเหตุการณ์ความไม่ปลอดภัยในบริเวณพื้นที่เสี่ยงภัย ตามแต่ละสภาพพื้นที่นั้น ๆ

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

1. การปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัย 1.1 ฝ่ายรักษาความสะอาดมีการดำเนินการหรือประสานหน่วยงานอื่นที่มีอำนาจหน้าที่ดำเนินการดูแลตัดต้นไม้ ทำความสะอาดพื้นที่และดำเนินการอื่นที่เกี่ยวข้อง 1.2 ฝ่ายโยธามีการดำเนินการหรือประสานหน่วยงานอื่นที่มีอำนาจหน้าที่ดำเนินการติดตั้งหรือกล้องวงจรปิด (CCTV) และดำเนินการอื่นที่เกี่ยวข้อง 1.3 ฝ่ายเทศกิจมีการดำเนินการหรือประสานหน่วยงานอื่นที่มีอำนาจหน้าที่ดำเนินการติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์เตือนภัยอาชญากรรมและดำเนินการอื่นที่เกี่ยวข้อง 2. การเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัย 2.1 มีการจัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัย จำนวนอย่างน้อย 2 ครั้ง/จุด/วัน 2.2 มีการจัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) ในบริวเณพื้นที่เสี่ยงภัย จำนวน อย่างน้อย 1 ครั้ง/จุด/วัน

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

1. ส่งรายงานให้สำนักเทศกิจทราบทุกเดือน 2. มีแผนการปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยงานอื่น 3. มีรูปภาพประกอบรายงานทุกครั้ง

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด
:๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน%
:๑.๒.๑.๑ เสริมสร้างความปลอดภัยเพื่อลดความล่อแหลมของสภาพแวดล้อมต่อการก่อ อาชญากรรม

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง