รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยกรุงเทพมหานคร ระดับดี : 5022-2002

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 80

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 50

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
15.00
100
100 / 100
2
20.00
0
0 / 0
3
50.00
0
0 / 0
4
0.00
0
0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

-เสนอขออนุมัติโครงการ -จัดทำแผนงานประจำปี แผนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ และตรวจประเมินสุขลักษณะสถานที่จำหน่ายอาหาร สะสมอาหาร ตลาด ซูเปอร์มาเก็ต ประจำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

จัดทำแผนงานประจำปี แผนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ และตรวจประเมินสุขลักษณะสถานที่จำหน่ายอาหาร สะสมอาหาร ตลาด ซูเปอร์มาเก็ต ประจำเดือนมกราคม-มีนาคม 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ออกปฏิบัติงานตาม แผนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ และตรวจประเมินสุขลักษณะสถานที่จำหน่ายอาหาร สะสมอาหาร ตลาด ซูเปอร์มาเก็ต ประจำเดือน พฤษภาคม -มิถุนายน 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

1.สถานประกอบการอาหาร หมายถึง สถานที่จำหน่ายอาหาร ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต และมินิมาร์ท ในพื้นที่ 50 เขตที่ได้รับใบอนุญาตหรือหนังสือรับรองการแจ้ง ตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข 2.เกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร หมายถึง เกณฑ์ที่ใช้ตรวจประเมินสถานประกอบการอาหารเพื่อขอรับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ ด้านอาคาร สถานที่ ด้านอาหาร และด้านบุคลากร ผู้สัมผัสอาหาร ดังนี้ 1) สถานประกอบการอาหารผ่านเกณฑ์สุขลักษณะ (ได้คะแนนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80) 2) อาหารและวัตถุดิบผ่านเกณฑ์ด้านความปลอดภัยโดยการใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น (Test kit) ตรวจหา สารบอแรกซ์ สารฟอกขาว กรดซาลิซิลิค ฟอร์มาลีน (อยู่ในเกณฑ์ปลอดภัย) และโคลิฟอร์มแบคทีเรีย (ไม่พบการปนเปื้อนมากกว่าร้อยละ 90) 3) บุคลากรผู้สัมผัสได้รับการอบรมหรือการเรียนรู้ด้วยตนเองด้านสุขาภิบาลอาหารตามหลักสูตรที่กรุงเทพมหานครกำหนด และผ่านการทดสอบความรู้ โดยได้รับหนังสือรับรองและบัตรประจำตัว ผู้สัมผัสอาหาร 3.ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบอาหารฯ หมายถึง ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมสนับสนุนให้สถานประกอบการอาหารสามารถพัฒนาเพื่อยกระดับมาตรฐานสถานประกอบการอาหารให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร คูณด้วย 100 หารด้วย จำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดในพื้นที่เขต ผลผลิต -จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ได้รับการส่งเสริมให้มีการพัฒนาตามหลักเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ผลลัพธ์ -ร้อยละสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล เก็บข้อมูล

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย
:๑.๖.๔ ประชาชนได้รับบริการช่วยเหลือฉุกเฉินเมื่อเกิดอุบัติเหตุและเจ็บป่วยขั้นวิกฤต%
:๑.๖.๔.๑ เพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงเพื่อช่วยเหลือผู้เจ็บป่วยฉุกเฉิน

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง