ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 97.54
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
ดำเนินการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารในพื้นที่มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี (ร้อยละ 100) ดังนี้ 1. สถานที่จำหน่ายอาหาร จำนวน 94 ราย ได้ป้ายรับรอง จำนวน 91 ราย 2. ซูเปอร์มาร์เก็ต จำนวน 3 ราย ได้ป้ายรับรอง จำนวน 3 ราย 3. มินิมาร์ท จำนวน 26 ได้ป้ายรับรอง จำนวน 25 ราย 4. ตลาด จำนวน 4 ราย ได้ป้ายรับรอง จำนวน 4 ราย รวม จำนวน 127 ราย ได้ป้ายรับรอง จำนวน 123 ราย คิดเป็นร้อยละ 96.85
ดำเนินการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารในพื้นที่มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี (ร้อยละ 100) ดังนี้ 1. สถานที่จำหน่ายอาหาร จำนวน 87 ราย ได้ป้ายรับรอง จำนวน 83 ราย 2. ซูเปอร์มาร์เก็ต จำนวน 3 ราย ได้ป้ายรับรอง จำนวน 3 ราย 3. มินิมาร์ท จำนวน 25 ได้ป้ายรับรอง จำนวน 24 ราย 4. ตลาด จำนวน 3 ราย ได้ป้ายรับรอง จำนวน 43ราย รวม จำนวน 118 ราย ได้ป้ายรับรอง จำนวน 113 ราย คิดเป็นร้อยละ 95.76
ดำเนินการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารในพื้นที่มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี (ร้อยละ 100) ดังนี้ 1. สถานที่จำหน่ายอาหาร จำนวน 87 ราย ได้ป้ายรับรอง จำนวน 71 ราย 2. ซูเปอร์มาร์เก็ต จำนวน 3 ราย ได้ป้ายรับรอง จำนวน 1 ราย 3. มินิมาร์ท จำนวน 25 ได้ป้ายรับรอง จำนวน 24 ราย 4. ตลาด จำนวน 3 ราย ได้ป้ายรับรอง จำนวน 3 ราย รวม จำนวน 118 ราย ได้ป้ายรับรอง จำนวน 99 ราย คิดเป็นร้อยละ 83.89
- ดำเนินการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารในพื้นที่มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี (เป้าหมายร้อยละ 80) ดังนี้ 1. สถานที่จำหน่ายอาหาร จำนวน 89 ราย ได้ป้ายรับรอง จำนวน 87 ราย 2. ซูเปอร์มาร์เก็ต จำนวน 3 ราย ได้ป้ายรับรอง จำนวน 3 ราย 3. มินิมาร์ท จำนวน 27 ราย ได้ป้ายรับรอง จำนวน 26 ราย 4. ตลาด จำนวน 3 ราย ได้ป้ายรับรอง จำนวน 3 ราย รวม จำนวน 122 ราย ได้ป้ายรับรอง จำนวน 119 ราย คิดเป็นร้อยละ 97.54
1. สถานประกอบการอาหาร หมายถึง สถานที่จำหน่ายอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต และมินิมาร์ท ในพื้นที่เขตราษฎร์บูรณะ ที่ได้รับใบอนุญาตหรือหนังสือรับรองการแจ้ง ตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข 2. เกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี หมายถึง เกณฑ์ที่ใช้ตรวจประเมินสถานประกอบการอาหาร เพื่อขอรับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ ด้านอาคารสถานที่ ด้านอาหาร และด้านบุคลากรผู้สัมผัสอาหาร ดังนี้ (1) สถานประกอบการอาหารผ่านเกณฑ์สุขลักษณะ (2) อาหารและวัตถุดิบผ่านเกณฑ์ด้านความปลอดภัย โดยสุ่มตรวจด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (Test–kit) ไม่พบสารเคมีอันตราย 4 ชนิด คือ สารบอแรกซ์ สารฟอกขาว กรดซาลิซิลิค สารฟอร์มาลีน และพบการปนเปื้อนโคลิฟอร์มแบคทีเรียไม่เกินร้อยละ 5 กรณีพบการปนเปื้อนสารเคมีอันตราย หรือโคลิฟอร์มแบคทีเรีย ให้ออกคำสั่งเจ้าพนักงานท้องถิ่น หรือคำแนะนำให้ผู้ประกอบการอาหาร ดำเนินการปรับปรุงแก้ไขให้ผ่านเกณฑ์ความปลอดภัย โดยสุ่มตรวจวิเคราะห์ซ้ำ (3) บุคลากรผู้สัมผัสอาหาร ต้องผ่านการอบรมหรือการเรียนรู้ด้วยตนเอง ตามหลักสูตรการสุขาภิบาลอาหารของกรุงเทพมหานคร และผ่านการทดสอบความรู้ โดยได้รับหนังสือรับรองและบัตรประจำตัวผู้สัมผัสอาหาร 3. ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารฯ หมายถึง ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริม สนับสนุนให้สถานประกอบการอาหารสามารถพัฒนาเพื่อยกระดับมาตรฐานสถานประกอบการอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี
จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี คูณด้วย 100 หารด้วยจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดในพื้นที่เขตราษฎร์บูรณะ
1. บัญชีข้อมูลสถานประกอบการอาหารในพื้นที่ 2. รายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหาร มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี 3. ภาพถ่ายกิจกรรม
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
:๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน% |
:๑.๖.๕.๑ ควบคุม กำกับ ดูแล ให้สถานประกอบการอาหาร เตรียม ประกอบปรุง และจำหน่ายอาหารถูกสุขลักษณะ |