รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละของเด็กก่อนวัยเรียนที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าได้เข้าสู่กระบวนการพัฒนา : 5024-0939

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00
100
100 / 100
2
100.00
100
100 / 100
3
100.00
0
0 / 0
4
100.00
0
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

- วางแผนการดำเนินการและประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - ดำเนินการตรวจประเมินและเฝ้าระวังโดยวิธีการสังเกตตามแนวทาง DSPM ครั้งที่ 1 จำนวน 4 ศูนย์ ได้แก่ 1. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนรัตนะจีนะ จำนวน 25 คน 2. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนวัดสน 3. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนรวมน้ำใจ 4. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนซอยสถาพร เมื่อวันที่ 9-13 พฤศจิกายน 2563 ผลปรากฏว่ามีเด็ก จำนวน 105 คน มีพัฒนาสงสัยล่าช้า จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0.95 ซึ่งเด็กได้เข้ารับการรักษาแล้วที่โรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกล้า

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- ดำเนินการตรวจประเมินและเฝ้าระวังโดยวิธีการสังเกตของอาสาสมัครผู้ดูแลเด็กตามแนวทาง DSPM จำนวน 4 ศูนย์ ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 3-5 กุมภาพันธ์ 2564 พบเด็กก่อนวัยเรียนคนเดิมมีพัฒนาการล่าช้าและเด็กยังคงเข้ารับการรักษาอย่างต่อเนื่อง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- ไม่พบเด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานครที่สงสัยล่าช้าเพิ่ม ประกอบกับมีประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง สั่งปิดสถานที่เป็นการชั่วคราว (ฉบับที่ 34) จึงไม่สามารถดำเนินการตรวจประเมินและเฝ้าระวังโดยวิธีการสังเกตของอาสาสมัครผู้ดูแลเด็กตามแนวทาง DSPM ได้

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- ดำเนินการตรวจประเมินและเฝ้าระวังโดยวิธีการสังเกตของอาสาสมัครผู้ดูแลเด็กตามแนวทาง DSPM จำนวน 4 ศูนย์ ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 2 - 4 สิงหาคม 2564 พบเด็กก่อนวัยเรียนคนเดิมมีพัฒนาการล่าช้าและเด็กยังคงเข้ารับการรักษาอย่างต่อเนื่อง

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

พัฒนาการสงสัยล่าช้า หมายถึง เด็กที่ได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการ ประเมินและเฝ้าระวังโดยวิธีสังเกตของอาสาสมัครผู้ดูแลเด็ก ตามแนวทาง DSPM ฉบับสรุปสาระสำคัญจาก DSPM ฉบับสมบูรณ์ และผลการตรวจผ่านไม่ครบทุกด้าน การเข้าสู่กระบวนการพัฒนา หมายถึง เด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการประสานส่งต่อเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจากหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชน

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

วิธีคำนวณ − เด็กที่ได้มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าและได้เข้าสู่กระบวนการพัฒนา x 100 เด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าทั้งหมด วิธีเก็บข้อมูล/หลักฐาน ผลการดำเนินงานจำแนกตามช่วงระยะเวลาประเมินผล ระยะครึ่งปีงบประมาณ สิ้นปีงบประมาณ ผลงานที่ได้ :- ผลงานที่ได้ : ผลการประเมินพัฒนาการ (หมายเหตุ: ประเมินผลวิธีคำนวณ − เด็กที่ได้รับการตรวจประเมินและพบว่ามีพัฒนาการสมวัย x 100 เด็กที่ได้รับการตรวจประเมินทั้งหมด − เด็กที่ได้มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าและได้เข้าสู่กระบวนการพัฒนา x 100 เด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าทั้งหมด วิธีเก็บข้อมูล/หลักฐาน ผลการดำเนินงานจำแนกตามช่วงระยะเวลาประเมินผล ระยะครึ่งปีงบประมาณ สิ้นปีงบประมาณ ผลงานที่ได้ :- ผลงานที่ได้ : ผลการประเมินพัฒนาการเด็กและผลการนำเด็กที่มีพัฒนาการสงสัย (หมายเหตุ: ประเมินผลปีละ 1 ครั้ง) ล่าช้าให้เข้าสู่กระบวนการพัฒนา

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

ผลการนำเด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าเข้าสู่กระบวนการพัฒนา

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****%
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง