รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละของการตรวจสอบและแก้ไขอาคารที่มีความเสี่ยงด้านอัคคีภัยเพื่อสร้างความปลอดภัยจากอัคคีภัย : 5024-0945

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00
100
100 / 100
2
100.00
100
100 / 100
3
100.00
0
0 / 0
4
100.00
0
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะได้ออกตรวจตามแผนฯตั้งแต่เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2563 ตรวจอาคารเสี่ยงภัยในพื้นที่เขตฯ จำนวน 55 ราย ตรวจป้ายโฆษณา จำนวน 22 ป้าย ไม่มีผู้กระทำผิดกฎหมายอาคาร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะได้ออกตรวจตามแผนฯตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 - มีนาคม 2564 ตรวจอาคารเสี่ยงภัยในพื้นที่เขตฯ จำนวน 55 ราย ตรวจป้ายโฆษณา จำนวน 22 ป้าย ไม่มีผู้กระทำผิดกฎหมายอาคาร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะได้ออกตรวจตามแผนฯตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 - มิถุนายน 2564 ตรวจอาคารเสี่ยงภัยในพื้นที่เขตฯ จำนวน 55 ราย ตรวจป้ายโฆษณา จำนวน 22 ป้าย ไม่มีผู้กระทำผิดกฎหมายอาคาร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะได้ออกตรวจตามแผนฯตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 - กันยายน 2564 ตรวจอาคารเสี่ยงภัยในพื้นที่เขตฯ จำนวน 55 ราย ตรวจป้ายโฆษณา จำนวน 22 ป้าย ไม่มีผู้กระทำผิดกฎหมายอาคาร

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

นิยาม - อาคารสาธารณะ หมายถึง อาคารที่ใช้ประโยชน์ในการชุมนุมได้โดยทั่วไป เช่น โรงมหรสพ หอประชุม โรงแรม หอสมุด โรงพยาบาล สถานศึกษา สนามกีฬา ห้างสรรพสินค้า สถานบริการ ท่าอากาศยาน อุโมงค์ สะพาน อาคารจอดรถ สถานีจอดรถ ท่าจอดเรือ โป๊ะจอดเรือ สุสาน ฌาปนสถาน ศาสนสถาน เป็นต้น ซึ่งเป็นอาคารที่เสี่ยงภัยได้รับการตรวจสอบระบบและอุปกรณ์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยตามที่กฎหมายกำหนดจาก สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยและสำนักงานเขต โดยแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ อาคารที่สร้างก่อนกฎกระทรวง (พ.ศ. 2535) และ อาคารที่สร้างภายหลังกฎกระทรวง (พ.ศ.2535) ค่าเป้าหมาย ร้อยละ 100 วิธีการคำนวณ จำนวนอาคารเสี่ยงภัยที่ตรวจสอบมีระบบการป้องกันอัคคีภัยเป็นไปตามกฎหมายคูณ 100 หารด้วยจำนวนอาคารเสี่ยงภัยที่ออกตรวจสอบทั้งหมด

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

ธีการคำนวณ จำนวนอาคารเสี่ยงภัยที่ตรวจสอบมีระบบการป้องกันอัคคีภัยเป็นไปตามกฎหมายคูณ 100 หารด้วยจำนวนอาคารเสี่ยงภัยที่ออกตรวจสอบทั้งหมด

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

รายงานผู้อำนวยการเขตทราบ

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๔ - ปลอดภัยพิบัติ
:๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ%
:๑.๔.๑.๔ ลดความล่อแหลมและความเปราะบางของชุมชน

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง